แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

นโยบายพรรคการเมืองด้านสุขภาพ ในการเลือกตั้งทั่วไปเดือนกรกฎาคม 2554

dc.contributor.authorพงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุขen_US
dc.contributor.authorฐิติมา นวชินกุลen_US
dc.contributor.authorสายศิริ ด่านวัฒนะen_US
dc.contributor.authorPongpisut Jongudomsuken_EN
dc.contributor.authorThitima Nawachinkulen_EN
dc.contributor.authorSaisiri Danwattanaen_EN
dc.date.accessioned2011-12-01T07:29:46Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:16:27Z
dc.date.available2011-12-01T07:29:46Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:16:27Z
dc.date.issued2554-09en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 5,3 (ก.ค.-ก.ย. 2554) : 363-370en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3381en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์นโยบายด้านสุขภาพของพรรคการเมืองต่างๆ ที่ได้เสนอเพื่อหาเสียงในการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 โดยการทบทวนเอกสารทางการและข้อมูลที่เสนอผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์และสื่อมวลชนต่างๆ ผลการศึกษาพบว่า พรรคการเมืองต่างๆ ให้ความสำคัญกับการมีข้อเสนอนโยบายด้านสุขภาพมากขึ้น โดยนโยบายที่ให้ความสำคัญ คือ การสร้างความเป็นธรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กับการพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐาน รวมทั้งการเร่งผลิตแพทย์และบุคลากรสาธารณสุขให้เพียงพอ มีคุณภาพ และกระจายอย่างทั่วถึง ข้อเสนอนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพมีจำนวนไม่มากและไม่เป็นรูปธรรม ประเด็นข้อเสนอนโยบายมีการเพิ่มเติมเมื่อพรรคการเมืองได้รับแรงผลักดันจากสื่อมวลชนและภาคประชาสังคม ควรติดตามว่า พรรคการเมืองต่างๆ จะมีการดำเนินงานตามนโยบายที่ได้ประกาศไว้เมื่อมีโอกาสเข้ามาบริหารประเทศหรือไม่อย่างไรen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleนโยบายพรรคการเมืองด้านสุขภาพ ในการเลือกตั้งทั่วไปเดือนกรกฎาคม 2554en_US
dc.title.alternativeWas There Anything New in the Health Policies of Political Parties in the 2011 General Election?en_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis study is aimed at analyzing the health policies proposed by political parties during the campaign for the general election on July 3, 2011. A review of official documents as well as information disseminated through websites and mass media were used for analyzing their policy contents. It was found that many health policies were proposed by the political parties, although they were not the main policies used for the campaign. Policies on universal health-care coverage and development of healthcare systems were given almost equal importance while there were fewer policies on health promotion. Civic movements and mass media could introduce new policy agendas for the consideration of politicians. There is a need to follow up these political parties to determine whether or not they will do as promised once elected as the leading parties to form a government.en_US
dc.subject.keywordนโยบายพรรคการเมืองด้านสุขภาพen_US
dc.subject.keywordการเลือกตั้งทั่วไปen_US
dc.subject.keywordHealth Policiesen_US
dc.subject.keywordPolitical Partiesen_US
.custom.citationพงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข, ฐิติมา นวชินกุล, สายศิริ ด่านวัฒนะ, Pongpisut Jongudomsuk, Thitima Nawachinkul and Saisiri Danwattana. "นโยบายพรรคการเมืองด้านสุขภาพ ในการเลือกตั้งทั่วไปเดือนกรกฎาคม 2554." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3381">http://hdl.handle.net/11228/3381</a>.
.custom.total_download1055
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month10
.custom.downloaded_this_year139
.custom.downloaded_fiscal_year19

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v5n3 ...
ขนาด: 360.6Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย