Show simple item record

Alcohol Consumption Control: From Cost-of-Illness Study to Policy Recommendation

dc.contributor.authorมนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์th_TH
dc.contributor.authorทิวารัตน์ วุฒิศรัยth_TH
dc.contributor.authorพัทธรา ลีฬหวรงค์th_TH
dc.contributor.authorนัยนา ประดิษฐ์สิทธิกรth_TH
dc.contributor.authorยศ ตีระวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorMontarat Thavorncharoensapen_EN
dc.contributor.authorTivarat Woothisaien_EN
dc.contributor.authorPattara Leelahavarongen_EN
dc.contributor.authorNaiyana Praditsitthikornen_EN
dc.contributor.authorYot Teerawattananonen_EN
dc.date.accessioned2012-03-05T03:26:39Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:16:36Z
dc.date.available2012-03-05T03:26:39Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:16:36Z
dc.date.issued2554-12en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5,4(ต.ค.-ธ.ค.2554) : 479-484en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3444en_US
dc.description.abstractผลจากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับต้นทุนความเจ็บป่วยของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พบว่าการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจเป็นมูลค่ามหาศาล ทั้งนี้ผลกระทบจากการสูญเสียผลิตภาพทั้งจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและการขาดประสิทธิภาพในการทำงานเป็นผลกระทบที่สำคัญและส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจอย่างชัดเจน ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากการทบทวนวรรณกรรมมีดังต่อไปนี้ 1. การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ควรจัดเป็นนโยบายเร่งด่วนสำคัญที่ควรดำเนินการในระดับประเทศ 2. การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไม่ควรเป็นเพียงความรับผิดชอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบสาธารณสุขเท่านั้น แต่ควรเป็นการบูรณาการการแก้ไขปัญหาจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะหน่วยงานด้านเศรษฐกิจและสังคมทั้งในส่วนของภาครัฐและเอกชน 3. แม้การป้องกันนักดื่มหน้าใหม่และการทำให้ผู้ที่ดื่มในทุกประเภทเลิกดื่มได้จะสามารถช่วยลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจได้เป็นจำนวนมาก อย่างไรก็ตามพบว่า นโยบาย/มาตรการแทรกแซงหรือการรณรงค์ที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเยาวชนไม่ให้เริ่มดื่มตลอดจนเยาวชนที่เพิ่งเริ่มดื่มไม่นานให้เลิกดื่มโดยเร็วจะมีส่วนช่วยทำให้ลดความสูญเสียได้มากกว่าการรณรงค์ให้เลิกภายหลังดื่มไปเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว 4. แม้มูลค่าความสูญเสียต่อรายของการมีนักดื่มหน้าใหม่แบบดื่มบ้าง (Responsible drinker) จะมีค่าไม่สูงมากนัก อย่างไรก็ตามมาตรการหรือนโยบายที่มีเป้าหมายที่ระดับการดื่มบ้างยังคงมีความจำเป็นเพราะการดื่มบ้างเป็นการดื่มประเภทที่มีความชุกสูงที่สุดในประเทศ และ 5. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการรณรงค์ลดการบริโภคเครื่องดื่ม ควรมีการเก็บรวบรวมข้อมูลประสิทธิผลของการดำเนินงานตามนโยบาย/มาตรการที่เกี่ยวข้องในรูปของจำนวนนักดื่มหน้าใหม่ที่ป้องกันได้ ตลอดจนจำนวนผู้ที่เลิกดื่มจากการดำเนินงานตามมาตรการ/นโยบาย เพื่อนำไปใช้ในการประเมินผลต่อไปในอนาคตว่ามาตรการ/นโยบายดังกล่าวมีความคุ้มทุนในเชิงเศรษฐศาสตร์หรือไม่th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย: จากผลการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วยสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายen_US
dc.title.alternativeAlcohol Consumption Control: From Cost-of-Illness Study to Policy Recommendationen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeAccording to the cost-of-illness studies, economic impact of alcohol consumption is substantial. Impact of alcohol and smoking on productivity loss due to premature mortality and morbidity is enormous and clearly affect economic system of the country. According to the cost-of-illness studies, the followings are policy recommendation; 1) Alcohol control policy should be set as the national priority; 2) collaboration from all related organizations not only those from the health care sectors but also other economic organizations both government and private as well as enterprises at all levels are needed; 3) Policy/ intervention aims at preventing new drinker as well as encouraging drinker to quit at the early age are essential. However, policy/intervention targeting at prevention of adolescent from start drinking are more cost-saving than policy encouraging drinker to quit. In addition, encourage drinker to quit at early age is more cost-saving than at the older age; 4) Policy/ intervention targeted at preventing new responsible drinker or encouraging responsible drinker to quit is still important, as responsible drinkers accounted for the highest proportion in the country; and 5) All related organizations should collect data in term of the number of new drinkers or quitters attributable to the policy/intervention in order to use them to conduct cost-effectiveness of such policy/intervention in the future.en_US
dc.subject.keywordแอลกอฮอล์en_US
dc.subject.keywordเศรษฐศาสตร์en_US
dc.subject.keywordนโยบายen_US
dc.subject.keywordต้นทุนความเจ็บป่วยen_US
dc.subject.keywordAlcoholen_US
dc.subject.keywordEconomicen_US
dc.subject.keywordCost-of-illnessen_US
.custom.citationมนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์, ทิวารัตน์ วุฒิศรัย, พัทธรา ลีฬหวรงค์, นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร, ยศ ตีระวัฒนานนท์, Montarat Thavorncharoensap, Tivarat Woothisai, Pattara Leelahavarong, Naiyana Praditsitthikorn and Yot Teerawattananon. "การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย: จากผลการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วยสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3444">http://hdl.handle.net/11228/3444</a>.
.custom.total_download1103
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year129
.custom.downloaded_fiscal_year12

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v5n4 ...
Size: 226.3Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record