Role of Family Physicians in Sexual Assaulted Patients in Chaibadan District Hospital
dc.contributor.author | ประดิษฐ ธนาเดชากุล | th_TH |
dc.contributor.author | Pradit Tanadechakul | en_EN |
dc.date.accessioned | 2012-03-05T06:46:49Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:18:14Z | |
dc.date.available | 2012-03-05T06:46:49Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:18:14Z | |
dc.date.issued | 2554-12 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5,4(ต.ค.-ธ.ค.2554) : 522-529 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3449 | en_US |
dc.description.abstract | การกระทำรุนแรงทางเพศเป็นปัญหาสำคัญและมีสถิติที่เพิ่มขึ้นทุกขณะ ท้าทายต่อบทบาทของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของทีมสหสาขาวิชาชีพ การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาในผู้ป่วยที่ถูกกระทำรุนแรงทางเพศที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลชัยบาดาลตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2550- 2552 โดยทบทวนทะเบียนรายงานและติดตามสอบถามผู้ป่วยย้อนหลังจำนวน 95 ราย (ทั้งหมดเป็นเพศหญิง) พบอุบัติการณ์ 27.7-49.9 ต่อแสนประชากร ประกอบด้วยเยาวชนอายุน้อยกว่า 18 ปีร้อยละ 94.7 ส่วนใหญ่กำลังศึกษาในชั้นมัธยม (ร้อยละ65.3) และการกระทำรุนแรงทางเพศส่วนใหญ่เป็นการข่มขืน (ร้อยละ61.1) ผู้กระทำรุนแรงมีความสัมพันธ์กับผู้ถูกกระทำในลักษณะสามี/คู่รัก/แฟนร้อยละ 42.1 ทั้งนี้พบการถูกกระทำซ้ำใน 1 ปีร้อยละ 26.3 ผู้ถูกกระทำตั้งครรภ์แล้วร้อยละ 2.1 ผู้ถูกกระทำรุนแรงทางเพศได้รับการดูแลด้วยการให้ยาคุมกำเนิดร้อยละ 32.6 ยาต้านไวรัสเอดส์ร้อยละ 25.3 และได้รับการทดสอบการติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 80 | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ความรุนแรง | en_US |
dc.title | บทบาทเวชศาสตร์ครอบครัวต่อผู้ป่วยที่ถูกกระทำรุนแรงทางเพศในโรงพยาบาลชุมชน | th_TH |
dc.title.alternative | Role of Family Physicians in Sexual Assaulted Patients in Chaibadan District Hospital | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Sexual assault was a critical problem with increasing incidence. It is a challenge to family physicians as a member of multidisciplinary team responsible for provision of care to the victims. With medical record review and interviews with sexual assaulted patients of Chaibadan Hospital, this study described demographic profile, nature of the assaults, type of care given and made suggestions for further improvement of health care to the victims. Seeking care at During 2007-2009, 95 female victims were identified with an estimated cumulative incidence of 27.7-49.8 per100,000 population. Majority of them were aged under 18(94.7%) with high school level of education (65.3%). Most of them were raped by husbands or boyfriends (42.1%). A quarter was sexually assaulted more than once during the past year. Health care provided to these victims consisted of birth control pills (32.6% of them), a test for HIV infection (80%) and anti-HIV medications (25.3%). | en_US |
dc.subject.keyword | เวชศาสตร์ครอบครัว | en_US |
dc.subject.keyword | Family Physicians | en_US |
.custom.citation | ประดิษฐ ธนาเดชากุล and Pradit Tanadechakul. "บทบาทเวชศาสตร์ครอบครัวต่อผู้ป่วยที่ถูกกระทำรุนแรงทางเพศในโรงพยาบาลชุมชน." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3449">http://hdl.handle.net/11228/3449</a>. | |
.custom.total_download | 997 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 9 | |
.custom.downloaded_this_year | 103 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 18 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ