แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

คู่มือปฏิบัติการธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ

dc.contributor.authorเดชรัต สุขกำเนิดen_US
dc.contributor.authorรุ่งทิพย์ สุขกำเนิดen_US
dc.date.accessioned2012-04-23T04:13:32Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:24:23Z
dc.date.available2012-04-23T04:13:32Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:24:23Z
dc.date.issued2555-03-31en_US
dc.identifier.otherhs1936en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3497en_US
dc.description.abstractเป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ประเมินใช้เป็นแนวทางในการประเมินธรรมาภิบาลการบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ (สวรส.และเครือสถาบัน) ขณะเดียวกันแนวทางดังกล่าวยังสามารถที่จะช่วยให้หน่วยบริหารจัดการงานวิจัยเอง ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการทำงานให้มีความชัดเจน โปร่งใส มีคุณภาพ มีส่วนร่วม และมีความถูกต้องเป็นธรรม หรือเป็นการทำงานภายใต้ความมีธรรมาภิบาล คู่มือแนวทางการปฏิบัติการธรรมาภิบาลฯ เล่มนี้ ประกอบด้วย 7 บท ดังต่อไปนี้ บทที่ 1 หลักการและเหตุผล ในบทนี้จะกล่าวถึงที่มาที่ไปของการจัดทำเอกสารเล่มนี้ บทที่ 2 การทบทวนองค์ความรู้เรื่องตัวชี้วัดธรรมาภิบาล ในบทนี้จะเป็นการทบทวนองค์ความรู้ ถึงความหมายและจุดมุ่งหมายของธรรมาภิบาลจากแหล่งต่างๆ ตลอดจนประสบการณ์ความล้มเหลวของการทำธรรมาภิบาลทั้งในและต่างประเทศเพื่อใช้เป็นบทเรียนต่อไป บทที่ 3 แนวทางการพัฒนาตัวชี้วัดธรรมาภิบาล เป็นการสรุปถึงหลักธรรมาภิบาลที่นำมาใช้กับขั้นตอนต่างๆของการบริหารจัดการงานวิจัยทำให้ได้ตัวชี้วัดทั้งหมด 30 ตัวชี้วัด บทที่ 4 หลักการธรรมาภิบาล ในบทนี้ได้มีการขยายความหมายและความสำคัญของหลักการธรรมาภิบาลต่างๆที่นำมาใช้กับหน่วยบริการจัดการงานวิจัย บทที่ 5 ขั้นตอนการบริหารจัดการงานวิจัย ในบทนี้ได้มีการขยายความให้เห็นถึงขั้นตอนต่างๆของการบริหารจัดการงานวิจัย ซึ่งเป็นองค์ประกอบของการบริหารจัดการงานวิจัยแบบครบถ้วน ซึ่งบางหน่วยงานอาจไม่มีบางขั้นตอนก็ไม่ผิดอะไร ทั้งนี้ขึ้นกับวิธีการจัดการและงบประมาณของแต่ละหน่วยงาน บทที่ 6แนวทางการประเมินธรรมภิบาล บทนี้ได้ขยายความถึงตัวชี้วัดทั้ง 30 ตัวชี้วัดว่า แต่ละตัวชี้วัดมีความสำคัญอย่างไร ในการประเมินจะต้องพิจารณาอย่างไร จะทำอย่างไรจึงจะผ่านตัวชี้วัด หลักฐานประกอบการประเมินที่ต้องใช้คืออะไร รวมถึงได้แสดงแบบประเมินคุณภาพและตารางผลการประเมิน บทที่ 7 ภาพรวมดัชนีชี้วัดและผลการประเมิน บทนี้จะแสดงถึงหลักการในการประเมินตัวชี้วัดแต่ละตัว และตัวอย่างการบันทึกความเห็นต่างๆ ลงในตารางผลการประเมิน และการคิดคะแนนของตัวชี้วัดต่างๆ เพื่อนำไปคำนวณหาค่าดัชนีธรรมาภิบาลแต่ละตัว และดัชนีการบริหารจัดการงานวิจัยแต่ละขั้นตอน พร้อมทั้งนำเสนอตัวอย่างการประเมินและสรุปผลการประเมินในภาพรวมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1483765 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectธรรมาภิบาลen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleคู่มือปฏิบัติการธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพen_US
dc.title.alternativeโครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoWA546 ด837ค 2555en_US
dc.identifier.contactno53-064en_US
dc.subject.keywordหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยen_US
.custom.citationเดชรัต สุขกำเนิด and รุ่งทิพย์ สุขกำเนิด. "คู่มือปฏิบัติการธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3497">http://hdl.handle.net/11228/3497</a>.
.custom.total_download44
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1936.pdf
ขนาด: 1.807Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย