แนวคิดปัจจุบันของการเปิดเผยความผิดพลาดทางการแพทย์
dc.contributor.author | บุญศักดิ์ หาญเทอดสิทธิ์ | en_US |
dc.contributor.author | Boonsak Hanterdsith | en_EN |
dc.date.accessioned | 2012-05-24T09:35:07Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:03:46Z | |
dc.date.available | 2012-05-24T09:35:07Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:03:46Z | |
dc.date.issued | 2555-03 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 6,1(ม.ค.-มี.ค. 2555) : 21-29 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3509 | en_US |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันปัญหาการร้องเรียนและฟ้องร้องแพทย์มีแนวโน้มมากขึ้น สาเหตุนำในการฟ้องร้องหรือร้องเรียนแพทย์นั้นมีจุดเริ่มต้นจากความเสียหายที่ผู้ป่วยหรือญาติได้รับในกระบวนการรักษาพยาบาล โดยมีทั้งความผิดพลาดที่ป้องกันได้และเป็นเหตุสุดวิสัย ความเสียหายดังกล่าวไม่มีใครประสงค์ให้เกิดขึ้น จึงมีการพยายามแสวงหาการป้องกันหลากหลายวิธี โดยในช่วงเวลาประมาณ ๑๐ ปีที่ผ่านมาหลังจากสถาบันการแพทย์ของอเมริกาเผยแพร่บทความในหนังสือเรื่อง To Err Is Human: Building a Safer Health System วงการแพทย์ได้พัฒนากลไกต่างๆเพื่อทำให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ป่วยมากขึ้น แต่ปัจจุบันยังเกิดความผิดพลาดขึ้นอยู่เสมอและหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะเกิดขึ้นอีกในอนาคต ดังนั้น แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์จึงต้องเรียนรู้วิธีจัดการกับความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอในกระบวนการรักษาพยาบาล ซึ่งรวมถึงเรื่องการเปิดเผยข้อผิดพลาดทางการแพทย์ให้ผู้ป่วยหรือญาติทราบด้วย เนื่องจากการเปิดเผยดังกล่าวมีผลดีมากกว่าผลเสียทั้งลดอัตราการฟ้องร้อง ลดเงินชดเชยที่ต้องจ่ายให้กับผู้ป่วยหรือญาติ และเกิดความไว้วางใจซึ่งกันและกันระหว่างแพทย์ ผู้ป่วย ญาติ และประชาชน โดยเป็นขั้นตอนที่เกี่ยวเนื่องกับระบบการรายงานอุบัติการณ์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ในอนาคตประเทศไทยมีแนวโน้มว่าระบบการเปิดเผยความผิดพลาดทางการแพทย์จะมีความสำคัญมากขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยและญาติได้รับการช่วยเหลือซึ่งต้องทำแบบบูรณาการร่วมไปกับระบบการไกล่เกลี่ย | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | แนวคิดปัจจุบันของการเปิดเผยความผิดพลาดทางการแพทย์ | en_US |
dc.title.alternative | Current concepts on medical error disclosure | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Recently, rate of medical malpractice claim and file a law suit on the medical adverse events are increasing. The primary etiology of claims and filing were adverse medical events which caused by either preventable medical error or mishap. No one wants adverse event occurred. In the past ten years after the Institute of Medicine (IOM) reported the facts of medical errors in “To Err Is Human: Building a Safer Health System”, health care personals have been deeply concerned with and have tried to improve their practice for patient safety worldwide. However, there are still many medical errors in recent years and will inevitably occur in the future. So, health care providers should learn how to manage and disclose when the medical errors occur. Several studies have proved that disclosure of medical error have taken more benefits than risks. The main benefits are decreased in filing rate, decreased in payments for adverse events, and maintenance of doctor and patient relationships with trust. Disclosure of medical error is the process which closely related to the incident report system. The importance of full open disclosure to the patient after medical error occurrence will significantly increase in the future for patient’s safety and should be simultaneously integrated into the mediation system. | en_US |
dc.subject.keyword | ความผิดพลาดทางการแพทย์ | en_US |
dc.subject.keyword | การฟ้องร้องแพทย์ | en_US |
dc.subject.keyword | การร้องเรียน | en_US |
.custom.citation | บุญศักดิ์ หาญเทอดสิทธิ์ and Boonsak Hanterdsith. "แนวคิดปัจจุบันของการเปิดเผยความผิดพลาดทางการแพทย์." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3509">http://hdl.handle.net/11228/3509</a>. | |
.custom.total_download | 4696 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 51 | |
.custom.downloaded_this_year | 991 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 116 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ