dc.contributor.author | นงลักษณ์ พะไกยะ | th_TH |
dc.contributor.author | อภิชาติ จันทนิสร์ | th_TH |
dc.contributor.author | สัญญา ศรีรัตนะ | th_TH |
dc.contributor.author | กฤษฎา ว่องวิญญู | th_TH |
dc.contributor.author | จิราภรณ์ หลาบคำ | th_TH |
dc.contributor.author | วรางคณา วรราช | th_TH |
dc.contributor.author | Nonglak Pagaiya | en_EN |
dc.contributor.author | Apichart Chantanitr | en_EN |
dc.contributor.author | Sanya Sriratana | en_EN |
dc.contributor.author | Krisada Wongwinyou | en_EN |
dc.contributor.author | Chiraporn Lapkom | en_EN |
dc.contributor.author | Warangkhana Worarat | en_EN |
dc.date.accessioned | 2012-05-25T07:33:36Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:15:01Z | |
dc.date.available | 2012-05-25T07:33:36Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:15:01Z | |
dc.date.issued | 2555-03 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 6,1(ม.ค.-มี.ค. 2555) : 60-71 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3513 | en_US |
dc.description.abstract | สถานการณ์ความต้องการบริการสุขภาพที่เพิ่มขึ้นเป็นเหตุให้ระบบบริการสุขภาพมีความต้องการกำลังคนมากขึ้น นโยบายการลดกำลังคนภาครัฐส่งผลให้ระบบบริการของกระทรวงสาธารณสุขเผชิญปัญหาการขาดแรงจูงใจกำลังคนเข้าสู่ระบบสุขภาพ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกงานในตำแหน่งลูกจ้างชั่วคราวของกำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาระบบจ้างงานในภาครัฐระบบใหม่ ที่มีประสิทธิภาพและสามารถธำรงกำลังคนด้านสุขภาพในภาครัฐได้ เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 31 มีนาคม – 1 เมษายน 2554 โดยใช้เครื่องมือทดลองเลือกงาน (Discrete Choice Experiment -DCE) ในการเก็บข้อมูลนั้นแต่ละคนจะต้องตอบ 16 คำถามเพื่อเลือกงาน 2 ตำแหน่งที่มีลักษณะงานที่มีชุดสิทธิประโยชน์ของข้าราชการและที่ไม่ใช่ข้าราชการ นำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติร้อยละ และ Conditional logistic regression ผลการศึกษาพบว่าการเลือกงานของลูกจ้างชั่วคราวนั้น จะให้ความสำคัญกับปัจจัยทางการเงินและปัจจัยที่ไม่เป็นตัวเงินประกอบการตัดสินใจเลือกงานที่ไม่ใช่ตำแหน่งข้าราชการ ซึ่งจะเห็นว่าโดยภาพรวมนั้น ชุดสิทธิประโยชน์ของตำแหน่งที่ไม่ใช่ข้าราชการที่สามารถดึงดูดกำลังคนให้เลือกได้แก่การเพิ่มเงินเดือนขึ้น 40 %, 30%, 20% นอกจากนั้นความก้าวหน้าในตำแหน่ง โอกาสการศึกษาต่อ มีเงินโบนัส การมีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ระยะเวลาการจ้างงานนานขึ้น มีส่วนสำคัญในการตัดสินใจเลือกงานที่ไม่ใช่ตำแหน่งข้าราชการ ดังนั้นแนวทางที่อาจจะมีผลต่อการเพิ่มการจูงใจกำลังคนเข้าสู่ตำแหน่งที่ไม่ใช่ข้าราชการและรักษาคนไว้ในระบบได้มากขึ้นนั้น รัฐบาลควรพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์การจ้างงานที่ประกอบด้วยมิติของแรงจูงใจทั้งด้านการเงินและด้านอื่นๆไปพร้อมๆกัน โดยชุดสิทธิประโยชน์นั้น นอกจากเงินเดือนที่สูงกว่าข้าราชการแล้ว ควรจะมีสิทธิประโยชน์อื่นๆเทียบเคียงกับราชการด้วย เช่น มีความก้าวหน้าในตำแหน่ง โอกาสการศึกษาต่อ มีเงินโบนัส มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ระยะเวลาการจ้างงานนานขึ้น เป็นต้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 266070 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ชุดสิทธิประโยชน์การจ้างงานลูกจ้างชั่วคราวเพื่อจูงใจบุคลากรในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ | th_TH |
dc.title.alternative | Employment benefit packages to attract health workforce in public health facilities | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | As the health needs increased, health workforce requirements have been increased too. However,
the policy to downsize the civil servant positions implemented has made the Ministry of Public Health
failed to attract and retain health workforce into public health facilities. This study therefore aimed to assess the factors affecting the health workforce’s decision making in choosing public health facilities as
their job of choices. A Discrete Choice Experiment (DCE) tool was used and that each health workforce
was asked 16 questions to choose between 2 jobs which have different attributes. The data were analyzed
by conditional logistic regression.
The findings showed that both financial and non-financial incentives played important roles in health
workforce decision making to choose their job of choices. Benefit packages that were significantly associated
to their choices of non-civil servant positions were: salary increase at 20%-40%, career advancement,
opportunity for continuing education, bonus provision, pension fund and a longer employment contract.
The results indicated that the government needs to develop the appropriate employment packages that
could attract health workforce in public sectors. The attractive benefit packages comprise: higher salary,
career advancement, opportunity for continuing education, bonus provision, pension fund and longer
employment contract. These packages could be attractive for health workforce to choose to be hired as
non-civil servants. | en_US |
dc.subject.keyword | Temporary Employment | en_US |
dc.subject.keyword | Discrete Choice Experiment (DCE) | en_US |
dc.subject.keyword | Health Workforce Attraction | en_US |
dc.subject.keyword | ลูกจ้างชั่วคราว | en_US |
dc.subject.keyword | การจูงใจบุคลากร | en_US |
dc.subject.keyword | ชุดสิทธิประโยชน์การจ้าง | en_US |
.custom.citation | นงลักษณ์ พะไกยะ, อภิชาติ จันทนิสร์, สัญญา ศรีรัตนะ, กฤษฎา ว่องวิญญู, จิราภรณ์ หลาบคำ, วรางคณา วรราช, Nonglak Pagaiya, Apichart Chantanitr, Sanya Sriratana, Krisada Wongwinyou, Chiraporn Lapkom and Warangkhana Worarat. "ชุดสิทธิประโยชน์การจ้างงานลูกจ้างชั่วคราวเพื่อจูงใจบุคลากรในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3513">http://hdl.handle.net/11228/3513</a>. | |
.custom.total_download | 835 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 8 | |
.custom.downloaded_this_year | 123 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 19 | |