ผลของการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจที่ได้รับยาวาร์ฟารินโดยเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ
dc.contributor.author | ดุษฎี อารยะวงศ์ชัย | en_US |
dc.contributor.author | ธีรพล เกาะเทียน | en_US |
dc.contributor.author | มนชยา ศิริอังคาวุธ | en_US |
dc.contributor.author | สุภาพร พรมสุพรรณ | en_US |
dc.contributor.author | Dusadee Arayawongchai | en_EN |
dc.contributor.author | Teerapon Kaothean | en_EN |
dc.contributor.author | Monchaya Siriangkhawut | en_EN |
dc.contributor.author | Supaporn Promsupan | en_EN |
dc.date.accessioned | 2012-05-25T08:47:03Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:15:41Z | |
dc.date.available | 2012-05-25T08:47:03Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:15:41Z | |
dc.date.issued | 2555-03 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 6,1(ม.ค.-มี.ค. 2555) : 125-133 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3519 | en_US |
dc.description.abstract | โรคลิ้นหัวใจเป็นโรคเรื้อรังซึ่งมีความยุ่งยากซับซ้อนในการดูแลรักษาและมีอัตราตายสูง รวมทั้งการเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องรับประทานยาวาร์ฟาริน(Warfarin) จนต้องกลับเข้ารับการรักษาใหม่ ส่งผลกระทบต่อตัวผู้ป่วย ครอบครัวและผู้ให้บริการ พบว่าในปี 2552 มีผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจกลับเข้ารับการรักษาอันเนื่องมาจากการใช้ยาวาร์ฟารินจำนวน 50 ราย(ร้อยละ 23.04) ดังนั้น เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยดังกล่าวเป็นไปอย่างต่อเนื่องและไร้รอยต่ออย่างยั่งยืน จึงได้มีการพัฒนารูปแบบเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลังผ่าตัดหัวใจที่ได้รับยาวาร์ฟารินในเขต 13 ตั้งแต่เดือนมกราคม 2553 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลังผ่าตัดหัวใจที่ได้รับยาวาร์ฟาริน โดยใช้ระบบโรงพยาบาลเครือข่าย เป็นการศึกษาเชิงปฏิบัติการ แบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 ค้นหาปัญหา ระยะที่ 2 วางแผนหาแนวทางปฏิบัติร่วมกัน และระยะที่ 3 ปฏิบัติและประเมินผล เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต และการประชุมระดมสมอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและร้อยละ ผลการศึกษาพบว่าระหว่างเดือนม.ค.53 - มี.ค.53 มีผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจกลับเข้ามารับการรักษาเนื่องจาก Warfarin overdose 5 ราย และเนื่องจาก Valve dysfunction 4 ราย รวมจำนวน 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.11 ของจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจช่วงเวลานี้ และคิดเป็นร้อยละ 0.48 ของจำนวนผู้ป่วยที่รับประทานยาวาร์ฟารินทั้งหมดซึ่งมี 1,881 ราย ทั้งนี้ จากโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ 15 แห่ง พบว่ามี 13 โรงพยาบาลที่พร้อมและดำเนินการไปแล้ว เป็นโรงพยาบาลชุมชน 9 แห่ง และโรงพยาบาลทั่วไป 4 แห่ง การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลังผ่าตัดหัวใจที่ได้รับยาวาร์ฟารินโดยใช้ระบบโรงพยาบาลเครือข่ายช่วยให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยในการใช้ยามากขึ้นเนื่องจากมีการติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย การดำเนินการเครือข่ายวาร์ฟารินนี้ น่าจะสามารถนำไปปรับใช้กับโรงพยาบาลอื่นๆ และกลุ่มผู้ป่วยอื่นๆที่มีอัตราตายสูงได้ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | โรคหัวใจ | en_US |
dc.subject | การผ่าตัด | en_US |
dc.subject | ยาวาร์ฟาริน | en_US |
dc.subject | การดูแลผู้ป่วย | en_US |
dc.title | ผลของการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจที่ได้รับยาวาร์ฟารินโดยเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ | en_US |
dc.title.alternative | The result of implementing network of care for post operative valvular heart patients who use wafarin | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Back ground: Valvular heart disease, a chronic illness with high mortality rate, is difficult to treat and prone to complications, especially from warfarin. In 2009, before implementing the network of care in Health region 13, we found that about 50 cases of total 217 cases (23.04%) had been brought back to the hospital due to warfarin using. Because of this problem, the network of care for warfarin use has been set up in January 2010 to look after these patients for continuity of care and to maintain wafarin level. Objective: To study the result of implementing network of care for post-operative valvular heart disease patients who use warfarin. Setting: Health region 13 Method: The study is divided into 3 phases;1) situation analysis 2) developing network of care guideline and 3) implementing and evaluation. The data were collected during January to March 2009 by questionnaire, depth interview, observation and focus group discussion. A descriptive statistic and content analysis were used to analyze the data. Result: During January to March 2009, only 9 patients (8.11 % & 0.48% of post operative patients & of 1,881 patients who use warfarin during that time respectively) came back to the hospital due to warfarin using ( 5 due to overdose & 4 due to valve dysfunction ). From 15 committed hospitals, 13 hospitals were ready for implementation, 9 & 4 were community hospitals & general hospitals respectively. Conclusion: The network of care with guideline, monitoring and supervisioon can improve the quality of life by decreasing the complication of warfarin use. | en_US |
.custom.citation | ดุษฎี อารยะวงศ์ชัย, ธีรพล เกาะเทียน, มนชยา ศิริอังคาวุธ, สุภาพร พรมสุพรรณ, Dusadee Arayawongchai, Teerapon Kaothean, Monchaya Siriangkhawut and Supaporn Promsupan. "ผลของการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจที่ได้รับยาวาร์ฟารินโดยเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3519">http://hdl.handle.net/11228/3519</a>. | |
.custom.total_download | 1454 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 10 | |
.custom.downloaded_this_year | 195 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 28 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ