Drug pricing measures for the reimbursement
dc.contributor.author | ชะอรสิน สุขศรีวงศ์ | en_US |
dc.contributor.author | วรรณสุดา งามอรุณ | en_US |
dc.contributor.author | สัญชัย จันทร์โต | en_US |
dc.contributor.author | Cha-oncin Sooksriwong | en_EN |
dc.contributor.author | Wansuda Ngam-Aroon | en_EN |
dc.contributor.author | Sunchai Janto | en_EN |
dc.date.accessioned | 2012-07-20T08:38:22Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:17:59Z | |
dc.date.available | 2012-07-20T08:38:22Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:17:59Z | |
dc.date.issued | 2555-06 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 6,2 (เมย.-มิย. 2555) : 176-184 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3583 | en_US |
dc.description.abstract | มาตรการกำหนดราคาซึ่งมีประสิทธิภาพหลายวิธี ที่รัฐบาลไทยควรเลือกใช้เพื่อแก้ปัญหางบประมาณที่จ่ายในการคืนเงินค่ายา การวิจัยนี้ต้องการเปรียบเทียบมูลค่าการประหยัดงบประมาณของรัฐบาลเมื่อใช้มาตรการต่างๆในการกำหนดราคาคืนเงินค่ายา การวิจัยทำในรูปแบบเชิงปริมาณและสร้างแบบจำลองเพื่อทำนายงบประมาณที่ประหยัดได้ ยาที่ใช้เป็นตัวอย่างคือ ยาในกลุ่ม HMG-CoA reductase inhibitor (statins) แบ่งยาออกเป็น 3 กลุ่ม และชื่อยาที่ใช้เป็นตัวอย่างแสดงในวงเล็บ คือ 1) ยาใหม่ที่ให้ผลการรักษาดีขึ้น (Rosuvastatin), 2) ยาใหม่ที่มีการปรับปรุงเชิงเทคนิค (Amlodipine+Atorvastatin), 3) ยาใหม่ที่มียาชื่อสามัญแล้ว (Atorvastatin). มาตรการกำหนดราคายาที่ใช้ในการวิจัยนี้คือ 1) Price Volume Agreement, 2) Value Based Pricing, 3) Maximum Allowable cost, และ 4) Reference pricing. ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า เมื่อมุ่งถึงการประหยัดงบประมาณ 1) กลุ่มยาใหม่ที่ให้ผลการรักษาดีขึ้น มาตรการ Reference pricing ดีกว่า Price Volume Agreement 2) กลุ่มยาใหม่ที่มีการปรับปรุงเชิงเทคนิค มาตรการ Value Based Pricing Value Based Pricing ดีกว่า Price Volume Agreement 3) กลุ่มยาใหม่ที่มียาชื่อสามัญแล้ว มาตรการ Reference pricing ดีกว่า Maximum Allowable Cost ซึ่งการที่แต่ละมาตรการจะก่อให้เกิดการประหยัดงบประมาณได้ต่างกันอย่างไรนั้น ขึ้นกับปัจจัยหลายประการเช่นอัตราการใช้ยาที่สมเหตุสมผล จำนวนของยาที่มีในตลาด ราคายาที่ขาย และการมียาที่ผลิตในประเทศ รัฐบาลควรเลือกมาตรการกำหนดราคาให้เหมาะสมกับยา เพื่อให้เกิดการประหยัดสูงสุด | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ราคายา | en_US |
dc.title | วิธีการกำหนดราคายาสำหรับการจ่ายเงินคืน | en_US |
dc.title.alternative | Drug pricing measures for the reimbursement | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Background: There are many effective drug pricing systems which Thai Government should employ to solve drug pricing problems especially at the reimbursement level. This research focuses on a comparison of budget saved by the payer after the application of different drug pricing measures at the reimbursement level. Methods: This was a quantitative research. The budget impact analysis modeling to estimate the budget saved from the pricing policy implementation was employed. Drugs belonged to the group HMG-CoA reductase inhibitor (statins) were purposive sampling to be the sample for the budget impact analysis. They were divided into 3 groups and the sample of each group was shown in the bracket: 1) Innovative drug with therapeutic improvement (Rosuvastatin), 2) Innovative drug with technical improvement (Amlodipine+Atorvastatin), and 3) Innovative drug with Generic drug (Atorvastatin). Drug pricing measures assigned for each drug groups were 1) Price Volume Agreement, 2) Value Based Pricing, 3) Maximum Allowable cost, and 4) Reference pricing. Results: In terms of budget saving for: 1) Innovative drug with therapeutic improvement group: Reference Pricing measure saved more budget than Price Volume Agreement. 2) ) Innovative drug with technical improvement group: Value Based Pricing measure saved more budget than Price Volume Agreement. 3) Innovative drug with Generic drug group: Reference Pricing measure saved more budget than Maximum Allowable Cost. Discussion: The magnitude of saving in each measure depends on the factors such as percentage of drug rational use, numbers and prices of drugs available in the market, and availability of local made drugs. Conclusion: There are many effective drug pricing measures which can be used to reduce the reimbursement budget. The government should place the right measure to each drug to gain its most benefit. | en_US |
dc.identifier.callno | 0858-9437 | en_US |
dc.subject.keyword | การกำหนดราคายา | en_US |
dc.subject.keyword | การจ่ายเงินคืน | en_US |
dc.subject.keyword | Drug Pricing Measures | en_US |
.custom.citation | ชะอรสิน สุขศรีวงศ์, วรรณสุดา งามอรุณ, สัญชัย จันทร์โต, Cha-oncin Sooksriwong, Wansuda Ngam-Aroon and Sunchai Janto. "วิธีการกำหนดราคายาสำหรับการจ่ายเงินคืน." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3583">http://hdl.handle.net/11228/3583</a>. | |
.custom.total_download | 1845 | |
.custom.downloaded_today | 2 | |
.custom.downloaded_this_month | 38 | |
.custom.downloaded_this_year | 570 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 92 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ