Rural retention of medical graduates trained by the collaborative project to increase rural doctors (CPIRD)
dc.contributor.author | นงลักษณ์ พะไกยะ | th_TH |
dc.contributor.author | ลลิตยา กองคำ | th_TH |
dc.contributor.author | วรางคณา วรราช | th_TH |
dc.contributor.author | สัญญา ศรีรัตนะ | th_TH |
dc.contributor.author | กฤษฎา ว่องวิญญู | th_TH |
dc.contributor.author | Nonglak Pagaiya | en_EN |
dc.contributor.author | Lalitthaya Kongkam | en_EN |
dc.contributor.author | Warangkhana Worarat | en_EN |
dc.contributor.author | Sanya Sriratana | en_EN |
dc.contributor.author | Krisada Wongwinyou | en_EN |
dc.date.accessioned | 2012-07-20T08:57:35Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:18:17Z | |
dc.date.available | 2012-07-20T08:57:35Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:18:17Z | |
dc.date.issued | 2555-06 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 6,2 (เมย.-มิย. 2555) : 219-227 | en_US |
dc.identifier.isbn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3587 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เพื่อวิเคราะห์การคงอยู่ในชนบทของแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท (Collaborative Project to Increase Rural Doctors: CPIRD) โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในปี 2554 ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลแพทย์ CPIRD 1,093 คนและแพทย์ระบบปกติจำนวน 6,064 คน วิเคราะห์โดยใช้สถิติ Survival analysis จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ปีแรกหลังสิ้นสุดการใช้ทุน แพทย์ CPIRD มีโอกาสการคงอยู่ในระบบราชการ 69% ในขณะที่ระบบปกติมีโอกาสการคงอยู่ประมาณ 59 % Hazard ratio มีค่า 0.66 แสดงให้เห็นว่า แพทย์ระบบปกติมีโอกาสจะออกจากกระทรวงสาธารณสุขเป็น 1.5 เท่าของแพทย์ CPIRD อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) โอกาสการคงอยู่ในชนบทของแพทย์ CPIRD สูงกว่าแพทย์ระบบปกติ โดยปีแรกหลังสิ้นสุดการใช้ทุน แพทย์ CPIRD มีโอกาสการคงอยู่ในชนบท 52% ในขณะที่ระบบปกติมีโอกาสการคงอยู่ในชนบทประมาณ 47 % Hazard ratio มีค่า 0.88 แสดงให้เห็นว่า แพทย์ระบบปกติมีโอกาสจะออกจากชนบทเป็น 1.14 เท่าของแพทย์ CPIRD อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.001) ค่ามัธยฐานการคงอยู่ในชนบทของแพทย์ CPIRD ลดลงจาก 10 ปีเป็น 4 ปีแต่ของแพทย์ระบบปกติลดลงจาก 6.5 ปี เป็น 3 ปี การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า แพทย์ CPIRD มีอัตราการคงอยู่ในชนบทที่สูงกว่าแพทย์ระบบปกติ แต่มีแนวโน้มของการคงอยู่ในชนบทที่ลดลง นอกจากการขยายจำนวนผลิตตามโครงการ CPIRD แล้ว ควรจะมีมาตรการอื่นๆรองรับการคงอยู่ในชนบทของแพทย์ที่ยาวนานมากยิ่งขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | การคงอยู่ในชนบทของบัณฑิตแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท | en_US |
dc.title.alternative | Rural retention of medical graduates trained by the collaborative project to increase rural doctors (CPIRD) | th_TH |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The collaborative project to increase rural doctors (CPIRD) has been implemented since 1995. This study therefore aims to assess whether the medical graduates trained by the CPIRD project were retained in rural areas longer than those trained by regular training project. The total of 1,093 CPIRD medical graduates and 6,064 medical graduates from regular training project during 2001 - 2007 were included. The data was traced back from 2001 to 2010 in relation to their mobility. Survival analysis was used for data analysis. The study found that at the 4th year of their work, 69% of CPIRD medical graduates were retained in the Ministry of Public Health (MoPH) compared to 59% of those trained by regular training project were. Harzard ratio was 0.66 (p<0.001) and it indicated that normal track medical graduates had a probability to resign from the MOPH 1.5 times than that of the CPIRD, significantly. After 3 years of public compulsory work ended, 52% of CPIRD medical graduates were retained at rural hospitals while 47% of the normal track medical graduates were. Harzard ratio was 0.88 (p= 0.001) and it indicated that normal track medical graduates had greater chance to move out of rural areas 1.14 times than that of the CPIRD ones, significantly. The median survival time in rural of the CPIRD medical graduates was declined from 10 years to 4 years, comparing to that of the normal track medical graduates that was declined from 6.5 years to 3 years. Although physicians under the CPIRD project have higher rural retention, the median survival time in rural had declined over 10 years and it become close to that of the normal track physicians. The trends indicated that the improvement of the CPIRD project is needed in order to attract and retain more physicians in rural areas. | en_US |
dc.subject.keyword | โครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท (CPIRD) | en_US |
dc.subject.keyword | การคงอยู่ในชนบท | en_US |
.custom.citation | นงลักษณ์ พะไกยะ, ลลิตยา กองคำ, วรางคณา วรราช, สัญญา ศรีรัตนะ, กฤษฎา ว่องวิญญู, Nonglak Pagaiya, Lalitthaya Kongkam, Warangkhana Worarat, Sanya Sriratana and Krisada Wongwinyou. "การคงอยู่ในชนบทของบัณฑิตแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3587">http://hdl.handle.net/11228/3587</a>. | |
.custom.total_download | 1080 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 5 | |
.custom.downloaded_this_year | 124 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 17 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ