Evaluation of Public Health Service Innovation: Subdistrict Hospital Created by Triangular Cooperation
dc.contributor.author | พงศ์พิชญ์ วงศ์มณี | en_US |
dc.contributor.author | Pongpit Vongmanee | en_US |
dc.coverage.spatial | เพชรบูรณ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-10-03T07:47:02Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:56:34Z | |
dc.date.available | 2008-10-03T07:47:02Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:56:34Z | |
dc.date.issued | 2550 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,2 (ก.ค.-ก.ย. 2550) (ฉบับเสริม1) : 212-221 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/363 | en_US |
dc.description.abstract | การดำเนินงานครั้งนี้เป็นประเมินผลการสร้างนวัตกรรมระบบบริการสุขภาพโดยมุ่งเน้นการสร้างโรงพยาบาล ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสร้างชุมชนที่เข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนที่ยั่งยืน วิธีการดำเนินงานแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการจัดตั้งศูนย์ความร่วมมือเพื่อสร้างความเชื่อถือและความไว้วางใจจากชุมชน โดยการจัดตั้งแกนนำไตรภาคีระดับอำเภอ คือ องค์กรของรัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และประชาคมลงประชามติดำเนินการนำร่องสร้างโรงพยาบาลตำบล 3 แห่ง ในระยะที่ 2 เป็นการขยายผลนวัตกรรมครบ 31 แห่ง ครอบคลุม 22 ตำบล และในระยะที่ 3 เป็นระยะการต่อยอดการสร้างชุมชนเข้มแข็งโดยนำผลประโยชน์จากการมีส่วนร่วม ความไว้วางใจและศรัทธาของชุมชน ดำเนินโครงการใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นในชุมชน ระยะเวลาดำเนินงาน 5 ปี การดำเนินงานทำให้สามารถสร้างโรงพยาบาลตำบลเกิดขึ้นครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 31 แห่ง โดยได้รับความร่วมมือจากชุมชนแบบไตรภาคี มีพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานประจำทุกแห่ง ใช้ระบบการปรึกษาแพทย์ทางไกล และพัฒนาระบบบริหารคลังยา ผลของการสร้างโรงพยาบาลตำบลทำให้มีประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพได้มากขึ้น มีประชาชนมาใช้บริการที่โรงพยาบาลตำบลเพิ่มขึ้นทุกปี มากขึ้นถึง 3 เท่า ซึ่งเท่ากับการลดจำนวนการเข้ารับบริการการเจ็บป่วยพื้นฐานของผู้ป่วยที่โรงพยาบาลหล่มสัก และที่สำคัญคือสามารถเพิ่มความสำเร็จของการตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นถึง 2 เท่า การดำเนินงานนวัตกรรมการสร้างโรงพยาบาลตำบลครั้งนี้ ได้ข้อเสนอแนะว่าความสำเร็จของการสร้างโรงพยาบาลตำบลนั้น สิ่งสำคัญคือการสร้างความร่วมมือของชุมชนที่เข้มแข็ง เพื่อให้ประชาชนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของโรงพยาบาลตำบลด้วยตนเอง ที่จะทำให้เกิดการพัฒนาและสร้างชุมชนที่เข้มแข็งอย่างยั่งยืน | en_US |
dc.format.extent | 194013 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ประเมินผลนวัตกรรมระบบบริการสุขภาพ : ความร่วมมือของไตรภาคีในการสร้างโรงพยาบาลตำบล | en_US |
dc.title.alternative | Evaluation of Public Health Service Innovation: Subdistrict Hospital Created by Triangular Cooperation | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | This is an evaluation of public health service innovation, with a focus on subdistrict hospital creation. The major aims of this work were strengthening the community with regard to the building of and participation in sustainable health care. The method considered three phases. The first phase was to create a participation center for fostering community trust and belief. Triangular cooperation consists of a government organization, subdistrict administration and a community plebiscite in the pilot innovation intiated in three subdistrict hospitals. In the second phase that followed, 31 subdistrict hospitals were distributed in 22 subdistrict areas. The third phase utilized useful community trust and belief for the creation of various novel projects. The overall creation extended five years and involved underlying community triangular participation. The subdistrict hospitals had permanent registered nurses, telemedicine consulting and medication storage development. The consequences of subdistrict hospital creation improved the people’s health service access. While the number of walk-in clients seeking subdistrict hospital services expanded year on year, a three-fold reduction was observed among those seeking medical services in Lomsak Hospital. Important was the two-fold improvement in chronic illness screening. In conclusion, the results of this evaluation suggest that a key important success indicator of subdistrict hospital creation is the strength of community participation, consequently improving community development and sustainability. | en_US |
dc.subject.keyword | นวัตกรรมระบบบริการสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | โรงพยาบาลตำบล | en_US |
dc.subject.keyword | ไตรภาคี | en_US |
dc.subject.keyword | Public Health-care service | en_US |
dc.subject.keyword | Subdistrict Hospital | en_US |
dc.subject.keyword | Triangular Cooperation | en_US |
.custom.citation | พงศ์พิชญ์ วงศ์มณี and Pongpit Vongmanee. "ประเมินผลนวัตกรรมระบบบริการสุขภาพ : ความร่วมมือของไตรภาคีในการสร้างโรงพยาบาลตำบล." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/363">http://hdl.handle.net/11228/363</a>. | |
.custom.total_download | 1151 | |
.custom.downloaded_today | 1 | |
.custom.downloaded_this_month | 25 | |
.custom.downloaded_this_year | 206 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 41 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ