Show simple item record

การพัฒนาระบบการกำกับดูแลยาชีววัตถุในประเทศไทย กรณีศึกษา epoetin

dc.contributor.authorวิไล บัณฑิตานุกุลen_US
dc.date.accessioned2012-10-04T06:52:54Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:19:58Z
dc.date.available2012-10-04T06:52:54Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:19:58Z
dc.date.issued2555en_US
dc.identifier.otherhs1982en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3687en_US
dc.description.abstractยาชีววัตถุมีความซับซ้อนทางโมเลกุลมาก จึงไม่สามารถใช้แนวทางการประเมินเดียวกับยาเคมีได้ แม้มีวิธีการวิเคราะห์มากมายในปัจจุบันก็อาจยังไม่เพียงพอที่จะทำนายถึงความปลอดภัยและประสิทธิภาพของยาชีววัตถุได้ มีรายงานการศึกษาหลายฉบับพบว่ายาชีววัตถุเหล่านี้มีผลต่อผู้ป่วยแตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถในการเป็นสารก่อภูมิคุ้มกัน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการกำกับดูแลยาชีววัตถุในประเทศไทยโดยใช้ยา epoetin เป็นกรณีศึกษา ทั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณาโดยการทบทวนวรรณกรรมและการประชุมกลุ่ม ผลการศึกษาพบว่าชุดเอกสารการขึ้นทะเบียนตำรับยาชีววัตถุในประเทศยังมีข้อมูลบางส่วนไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์สากล ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้ความเสี่ยงเหนือประโยชน์จากการใช้ยา การพัฒนาระบบการกำกับดูแลยาชีววัตถุในประเทศไทยจึงมีความสำคัญ ระบบในอนาคตควรมีการพัฒนาการขึ้นทะเบียนตำรับยาควบคู่กับการทบทวนทะเบียนตำรับยาให้สอดคล้องกับเกณฑ์สากลที่เป็นปัจจุบัน ทั้งแบบยาชีววัตถุใหม่และแบบยาชีววัตถุคล้ายคลึง การนำระบบ ใหม่ไปสู่การปฏิบัติจำเป็นต้องมีการพัฒนาความพร้อมทั้งด้านการบริหารและวิชาการen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1266108 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectระบบยาen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการพัฒนาระบบการกำกับดูแลยาชีววัตถุในประเทศไทย กรณีศึกษา epoetinen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.abstractalternativeBiological products are very complex molecules, therefore the same regulatory approach of assessing chemical drugs cannot be used. Although a variety of assays are available, they may not be adequate to reliably predict the safety and efficacy of biological products. Several studies indicated that the treatment responses of biological products are not the same especially the immune responses. This study was a descriptive study conducted by intensive literature reviews and group discussions. The result showed that the dossiers of registered biological products were partially incomplete comparing with international guidelines, which may cause the risk over benefit. Thus, researchers have proposed a future system to regulate biological products by shifting the registration and re-evaluation paradigms of biological products to be in compliance with current international guidelines on biological products and biosimilars. The implementation of this new proposed system requires the development of administrative and technical aspects.en_US
dc.identifier.callnoQV778 ว724ก 2555en_US
dc.identifier.contactno51-088en_US
dc.subject.keywordยาชีววัตถุen_US
dc.subject.keywordEpoetinen_US
dc.subject.keywordBiological Productsen_US
dc.subject.keywordBiosimilaren_US
dc.subject.keywordSimilar Biotherapeutic Producten_US
.custom.citationวิไล บัณฑิตานุกุล. "การพัฒนาระบบการกำกับดูแลยาชีววัตถุในประเทศไทย กรณีศึกษา epoetin." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3687">http://hdl.handle.net/11228/3687</a>.
.custom.total_download114
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs1982.pdf
Size: 1.310Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record