แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อคนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทย

dc.contributor.authorสุภัทร ฮาสุวรรณกิจth_TH
dc.contributor.authorSupat Hasuwannakiten_EN
dc.date.accessioned2012-10-31T06:39:36Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:03:39Z
dc.date.available2012-10-31T06:39:36Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:03:39Z
dc.date.issued2555-09en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 6,3(ก.ค.-ก.ย. 2555) : 403-415en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3704en_US
dc.description.abstractคนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทยประกอบด้วยคนไร้รัฐ แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองและผู้ลี้ภัย รวมประมาณห้าแสนคนซึ่งยังไม่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลต่อสถานะสุขภาพของคนชายขอบ มีการเข้าถึงบริการน้อยกว่าคนสัญชาติไทย 6 เท่า การระบาดของโรคติดต่อชายแดนเช่นมาเลเรีย และการแบกรับภาระค่ารักษาพยาบาลของระบบบริการสุขภาพ จาการทบทวนวรรณกรรมและวิเคราะห์เพื่อเสนอประเด็นเชิงนโยบายในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่คนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทย พบประเด็นเชิงนโยบายที่มีข้อเสนอแนะให้มีกลไกสามกลไกคือ 1.การขยายกลุ่มเป้าหมายของกองทุนให้บริการด้านสาธารณสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ให้ครอบคลุมกลุ่มบุคคลผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียน 2.การขยายผู้มีสิทธิในการเข้าร่วมกองทุนประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองที่ปัจจุบันจำกัดเพียงแรงงานจากประเทศพม่า ลาวและกัมพูชา ให้ครอบคลุมถึงแรงงานที่เป็นคนไร้สัญชาติ และ 3.การจัดตั้งกองทุนใหม่เพื่อการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมแก่บุคคลผู้ไม่มีสัญชาติไทยที่ไม่สามารถได้รับสิทธิประโยชน์จากสองกองทุนแรกได้ ทั้งนี้ทั้งสามกลไกใช้งบประมาณเพิ่มเติมปีละ 716.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.66 ของงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำหรับกองทุนให้บริการด้านสาธารณสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธินั้นมีข้อเสนอแนะให้เปิดโอกาสให้ผู้มีสิทธิสามารถย้ายสิทธิไปขึ้นทะเบียนต่างพื้นที่ภูมิลำเนาได้ เพื่อให้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าคือสิทธิแห่งมนุษย์ทุกคนth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าen_US
dc.titleหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อคนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทยth_TH
dc.title.alternativeUniversal Health Coverage for marginalized non-Thai people in Thailanden_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe marginalized people who are non-Thai nationals consisted of stateless people, undocumented migrant workers and refugees. These 500,000 people were still excluded from universal health coverage. Poor health outcomes, 6 times less access to care, outbreak of infectious diseases especially malaria and burden of hospitals’ budget were its consequences. By the literature review and analysis, the policy issues to include all non-Thai nationals people in Thailand in universal health coverage were formulated as follow; 1) the expansion of people with citizenship problems scheme to include the stateless people who were in the registration system but still had no legal status, 2) the extension of undocumented migrant workers scheme to accept the enrollment of stateless migrant workers and 3) the establishment of the new reimbursement health insurance scheme for humanitarian purposes for the rest of non-Thai people who could not join the two former schemes. The additional budget was 716.8 million Bath /year or 0.66% of Universal Coverage Fund budget. However, the people with citizenship problems scheme should permit its members to change their registration to their real living or working place for the real access to care. Universal health coverage should be the right of everybody.en_US
dc.subject.keywordStateless Peopleen_US
dc.subject.keywordคนชายขอบen_US
dc.subject.keywordUniversal Health Coverageen_US
dc.subject.keywordคนไร้รัฐen_US
dc.subject.keywordผู้ไม่มีสัญชาติen_US
.custom.citationสุภัทร ฮาสุวรรณกิจ and Supat Hasuwannakit. "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อคนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทย." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3704">http://hdl.handle.net/11228/3704</a>.
.custom.total_download5823
.custom.downloaded_today4
.custom.downloaded_this_month123
.custom.downloaded_this_year1430
.custom.downloaded_fiscal_year260

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v6n3 ...
ขนาด: 349.6Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย