Community Participation in Promoting Health Development among Children in Chiang-Klang District, Nan Province
dc.contributor.author | กิติศักดิ์ เกษตรสินสมบัติ | en_US |
dc.contributor.author | Kitissak Kasetsinsombat | en_US |
dc.coverage.spatial | น่าน | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-10-03T07:52:56Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:01:26Z | |
dc.date.available | 2008-10-03T07:52:56Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:01:26Z | |
dc.date.issued | 2550 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,2 (ก.ค.-ก.ย. 2550) (ฉบับเสริม1) : 129-137 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/374 | en_US |
dc.description.abstract | ภาวะขาดสารอาหารและสุขภาพช่องปากในเด็ก เป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ ซึ่งมีแนวทางการแก้ปัญหาดังกล่าวหลายรูปแบบมานานแล้ว แต่ยังพบปัญหาอยู่ตลอด ผู้ศึกษาจึงกำหนดรูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการคัดเลือกหมู่บ้านน้ำคา ตำบลพญาแก้ว อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ทำการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม ในช่วงเดือนมิถุนายน 2545-ธันวาคม 2546 ผลการศึกษาพบว่า ก่อนเริ่มโครงการเดือนมิถุนายน 2545 พบภาวะเด็กขาดสารอาหาร 7 คน (ร้อยละ 15.22) หลังดำเนินการได้ 6 เดือนและติดตามมาตลอดต่อเนื่องอีก 1 ปี ไม่พบเด็กขาดสารอาหาร ภาวะสุขภาพช่องปากดีขึ้นชัดเจนทั้งระดับประถมศึกษาและในศูนย์เด็กเล็ก ปัจจัยแห่งความสำเร็จเกิดจากการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนตั้งแต่ร่วมวิเคราะห์ปัญหา หาสาเหตุแนวทางแก้ไขปัญหา รวมทั้งร่วมกันดูแลตามแนวทางที่ชุมชนร่วมกันกำหนด | en_US |
dc.format.extent | 177919 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ผลการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการแก้ปัญหาภาวะเด็กขาดสารอาหารและเด็กฟันผุ อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน | en_US |
dc.title.alternative | Community Participation in Promoting Health Development among Children in Chiang-Klang District, Nan Province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Malnutrition and dental problems in children have been identified as important problems in Thailand. Several studies and research activities have been undertaken in order to identify solutions, but the problems still exist. The Chiang-Klang Hospital Health Team conducted a study by involving the community to become concerned about their problems and become a part of the committee to solve problems themselves. Namkha village in Phayakaew sub-district of Chiang-Klang was selected to be a community model. A quality measurement study was conducted as PAR (Participatory Action Research). The study was conducted between June 2002 and December 2003. Seven malnourished children (15.22% of the total) were identifinal at the start (June 2002). No children (0%) were seen with malnutrition after six months. The study team followed up the result for one year and found that there were no cases of malnutrition. Dental health was significantly improved in both the nursery center and primary school. This study has shown that the communityûs health problems had been completely solved because of the cooperation of the community itself, which had been involved in all the relevent steps: problem investigation, finding a solution and following up on the health-care procedures adopted by the team. | en_US |
dc.subject.keyword | ภาวะขาดสารอาหาร | en_US |
dc.subject.keyword | ฟันผุ | en_US |
dc.subject.keyword | Community Participation | en_US |
dc.subject.keyword | Malnutrition in Children | en_US |
dc.subject.keyword | Oral Hygiene | en_US |
.custom.citation | กิติศักดิ์ เกษตรสินสมบัติ and Kitissak Kasetsinsombat. "ผลการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการแก้ปัญหาภาวะเด็กขาดสารอาหารและเด็กฟันผุ อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/374">http://hdl.handle.net/11228/374</a>. | |
.custom.total_download | 1329 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 39 | |
.custom.downloaded_this_year | 331 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 67 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ