Show simple item record

Mental Health among a Population of 15-59 Years Old in Langu District, Satun Province

dc.contributor.authorปวิตร วณิชชานนท์en_US
dc.contributor.authorPawit Vanichanonen_US
dc.coverage.spatialสตูลen_US
dc.date.accessioned2008-10-03T07:55:07Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:56:37Z
dc.date.available2008-10-03T07:55:07Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:56:37Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,2 (ก.ค.-ก.ย. 2550) (ฉบับเสริม1) : 154 - 162en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/377en_US
dc.description.abstractสถิติประชาชนอายุ 15-59 ปี ไปรับบริการที่โรงพยาบาลละงู เนื่องจากปัญหาสุขภาพจิตมีแนวโน้มสูงขึ้น โดย พ.ศ.2547, 2548 และ 2549 มีอัตรา 3,219.54, 3,538.6 และ 4,625.00 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและจากการฆ่าตัวตายในพ.ศ. 2549 เพิ่มขึ้นเป็น 1.7 และ 7.8 เท่าของปี พ.ศ. 2547 อัตราป่วยที่เพิ่มขึ้นสะท้อนถึงความรุนแรงของปัญหาสุขภาพจิตในพื้นที่ การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจภาวะสุขภาพจิต และคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงการฆ่าตัวตายของประชากรอายุ 15-59 ปี ทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่อาศัยอยู่จริงในบ้านเรือนส่วนบุคคลในพื้นที่อำเภอละงู ในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2550 จำนวน 22,093 คน โดยมุ่งนำผลที่ได้ไปกำหนดมาตรการในการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตของประชาชนในพื้นที่อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อการอยู่อย่างสุขภาวะ เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจเป็นแบบสอบถามสุขภาพทั่วไปฉบับภาษาไทยชนิด 12 ข้อ แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า และแบบคัดกรองความเสี่ยงการฆ่าตัวตายของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข การสำรวจพบประชากรอายุ 15-59 ปี ในอำเภอละงูมีปัญหาสุขภาพจิตร้อยละ 0.23 ; ชายและหญิงมีปัญหาในอัตราที่ใกล้เคียงกัน คือ ร้อยละ 54 และร้อยละ 46 ตามลำดับ กลุ่มอายุ 35-44 ปี มีปัญหาสุขภาพจิตร้อยละ 42 ให้ข้อมูลว่าเนื่องจากรายได้ไม่เพียงพอ นอกจากนี้ยังพบประชากรที่มีภาวะซึมเศร้า 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของประชากร ไม่พบประชากรที่มีภาวะเสี่ยงการฆ่าตัวตาย ผลของการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้ในการกำหนดมาตรการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตแบบบูรณาการในแต่ละกลุ่มประชากร โดยความร่วมมือของครอบครัว องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์en_US
dc.format.extent245492 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleสุขภาพจิตประชากรอายุ 15-59 ปี อำเภอละงู จังหวัดสตูลen_US
dc.title.alternativeMental Health among a Population of 15-59 Years Old in Langu District, Satun Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe incidence of mental health problems among patients who visited Langu Hospital Out-patient Department increased from 3,330 and 3,539 to 4,625 cases per 100,000 populations in 2004, 2005 and 2006, respectively. The incidence of cases that committed suicide in 2006 was 7.57 cases per 100,000 population, which was much higher than the rate for Thailand as a whole. The objectives of this study were to survey mental health status and to determine depression and suicidal attempts among the population 15-59-yearsold who lived in the period May to June 2007 in Langu District, Satun Province, Thailand. This was a descriptive cross-sectional study and survey that used the Thai General Health Questionaire-12 in the first step; it was then followed by the DepressionScreening, Suicidal Attempt and/or Psychotic-screening Test, all of which were established by the Mental Health Department, Ministry of Public Health. There were 22,093 samples; the male to female ratio was 1:1.2. Mental health status was divided into three groups: normal, high risk and the mental heath problem group. The mental health problem group was 0.23 percent, equally male and female. The highest percentage were in the 35-44-year-old age group (34%), in the married group (48%) and in the insufficientincome group (42%). Mental health problems were psychosis disorder (0.12%), paranoid schizophrenia (0.04%), schizophrenia (0.07%), mania (0.01%), bipolar disorder (0.02%), psychosis due to multiple drug dependence (0.04%), GAD (0.09%), agoraphobia (0.01%), and panic (0.01%). There were 20 cases of depression (0.09%) and no attempted suicide case. Furthermore, this study showed that we should launch preventive interventions in each mental health status group and collaborate with families, community leaders, village health volunteers, the local authority and NGOsen_US
dc.subject.keywordการสำรวจen_US
dc.subject.keywordสุขภาพจิตen_US
dc.subject.keywordภาวะซึมเศร้าen_US
dc.subject.keywordการฆ่าตัวตายen_US
dc.subject.keywordMental Healthen_US
dc.subject.keywordDepressionen_US
dc.subject.keywordAttempted Suicideen_US
.custom.citationปวิตร วณิชชานนท์ and Pawit Vanichanon. "สุขภาพจิตประชากรอายุ 15-59 ปี อำเภอละงู จังหวัดสตูล." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/377">http://hdl.handle.net/11228/377</a>.
.custom.total_download1113
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month12
.custom.downloaded_this_year118
.custom.downloaded_fiscal_year22

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v1n2 ...
Size: 244.0Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record