แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพโรคเรื้อรังและการมีส่วนร่วมที่หน่วยบริการปฐมภูมิของเภสัชกรโรงพยาบาล

dc.contributor.authorอรอนงค์ วลีขจรเลิศen_US
dc.contributor.authorหนึ่งฤทัย สุกใสen_US
dc.contributor.authorธนนรรจ์ รัตนโชติพานิชen_US
dc.contributor.authorจุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์en_US
dc.contributor.authorสัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์en_US
dc.contributor.authorOn-anong Waleekhachonloeten_EN
dc.contributor.authorNungruthai Suksaien_EN
dc.contributor.authorThananan Rattanachotphaniten_EN
dc.contributor.authorChulaporn Limwattananonen_EN
dc.contributor.authorSamrit Srithamrongsawaten_EN
dc.date.accessioned2013-03-20T05:45:30Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:19:00Z
dc.date.available2013-03-20T05:45:30Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:19:00Z
dc.date.issued2555-12en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 6,4 (ต.ค.-ธ.ค.2555) : 446-454en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3790en_US
dc.description.abstractในปัจจุบัน ระบบบริการปฐมภูมิมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สามารถควบคุมอาการได้ การรักษาโรคเรื้อรังเกือบทั้งหมดเป็นการรักษาด้วยยา ดังนั้นเภสัชกรควรมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิ โดยเภสัชกรควรมีความเข้าใจเชิงระบบเพื่อให้สามารถทำงานร่วมกับทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเนื่องจากโรคเรื้อรังที่มีการส่งผู้ป่วยกลับไปรับบริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิมากที่สุดคือเบาหวานและความดันโลหิตสูง ดังนั้นจึงมีนโยบายจากกระทรวงสาธารณสุข และมีงบประมาณหลักที่สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและระบบบริการจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การประเมินผลการดำเนินการเน้นตัวชี้วัดกระบวนการและผลลัพธ์ สำหรับตัวชี้วัดด้านยาประเมินจากอัตราผู้ป่วยเบาหวานอายุ 40 ปีขึ้นไปที่ได้รับยา aspirin และอัตราผู้ป่วยเบาหวานที่มี micro albumin ที่ได้รับการรักษาด้วยยากลุ่ม angiotensin converting enzyme inhibitors หรือ angiotensin receptor blockers เภสัชกรควรดูแลระบบยาที่หน่วยบริการปฐมภูมิให้มีรายการยาที่เพียงพอในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พัฒนาการจัดบริการและศักยภาพบุคลากรเรื่องยา เป็นที่ปรึกษาเรื่องยาสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิ ตลอดจนมีส่วนร่วมกับพยาบาลในการบริหารจัดการโรค พัฒนาระบบการส่งต่อ-ส่งกลับข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยาระหว่างโรงพยาบาลแม่ข่ายและหน่วยบริการปฐมภูมิ และพัฒนาระบบการเก็บและประมวลผลข้อมูลตามตัวชี้วัดที่กำหนดen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleความรู้เกี่ยวกับนโยบายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพโรคเรื้อรังและการมีส่วนร่วมที่หน่วยบริการปฐมภูมิของเภสัชกรโรงพยาบาลen_US
dc.title.alternativeKnowledge on Policy Supporting Health Services for Chronic Disease and Hospital Pharmacist Participation at Primary Care Uniten_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeCurrently, primary care expands its role for patients with chronic care who have a controlled condition. Drug therapy is the major method for treatment of chronic diseases. Therefore, pharmacists should take their responsibility in drug therapy management in primary care unit. Understanding of policy supporting health services is necessary for pharmacists to work efficiently with health care team. Since diabetes mellitus (DM) and hypertension are the most common chronic diseases that hospitals refer patients to receive further treatment at primary care unit (PCU), there are several health policies and financial mechanisms by National Health Security Office and Ministry of Public Health as the way to support capacity building and service system in PCU. For system monitoring, quality indicators focusing on processes and outcomes have been developed. The specified prescribing quality indicators for secondary prevention included prescribing rate of aspirin in DM patients aged at least 40 years and prescribing rate of angiotensin converting enzyme inhibitors or angiotensin receptor blockers in DM patients with microalbuminuria. Pharmacists should ascertain that drug items in PCU are optimum for providing care for patients with concomitant diseases. Drug service system should be improved and health care personnel in PCU should be trained for basic drug therapy management. Pharmacists should work with the disease manager nurses to develop referral system for medication history information between the contracting unit and its’ PCUs. In addition, data collection and data processing system for specified quality indicators should be developed.en_US
dc.subject.keywordระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subject.keywordโรคเรื้อรังen_US
dc.subject.keywordหน่วยบริการปฐมภูมิen_US
dc.subject.keywordChronic Diseaseen_US
dc.subject.keywordPrimary Careen_US
.custom.citationอรอนงค์ วลีขจรเลิศ, หนึ่งฤทัย สุกใส, ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช, จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์, On-anong Waleekhachonloet, Nungruthai Suksai, Thananan Rattanachotphanit, Chulaporn Limwattananon and Samrit Srithamrongsawat. "ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพโรคเรื้อรังและการมีส่วนร่วมที่หน่วยบริการปฐมภูมิของเภสัชกรโรงพยาบาล." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3790">http://hdl.handle.net/11228/3790</a>.
.custom.total_download1444
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month13
.custom.downloaded_this_year192
.custom.downloaded_fiscal_year33

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v6n4 ...
ขนาด: 247.9Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย