Newly medical graduates’ confidence in medical and public-health competency: exploratory factor analysis and multiple regression
dc.contributor.author | ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์ | en_US |
dc.contributor.author | ฐิติกร โตโพธิ์ไทย | en_US |
dc.contributor.author | ชมพูนุท ไทยจินดา | en_US |
dc.contributor.author | นงลักษณ์ พะไกยะ | en_US |
dc.contributor.author | ธัญธิตา วิสัยจร | en_US |
dc.contributor.author | นพคุณ ธรรมธัชอารี | en_US |
dc.contributor.author | วิชช์ เกษมทรัพย์ | en_US |
dc.contributor.author | วีระศักดิ์ พุทธาศรี | en_US |
dc.contributor.author | Rapeepong Suphanchaimat | en_EN |
dc.contributor.author | Thitikorn Topothai | en_EN |
dc.contributor.author | Chompoonut Thaichinda | en_EN |
dc.contributor.author | Nonglak Pagaiya | en_EN |
dc.contributor.author | Thunthita Wisaijohn | en_EN |
dc.contributor.author | Noppakun Thammathacharee | en_EN |
dc.contributor.author | Vijj Kasemsup | en_EN |
dc.contributor.author | Weerasak Puthasri | en_EN |
dc.date.accessioned | 2013-03-20T05:55:30Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:18:57Z | |
dc.date.available | 2013-03-20T05:55:30Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:18:57Z | |
dc.date.issued | 2555-12 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 6,4 (ต.ค.-ธ.ค.2555) : 455-466 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3791 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความมั่นใจด้านความรู้ ทักษะและความสามารถทางการแพทย์และสาธารณสุขของบัณฑิตแพทย์และหาความสัมพันธ์ระหว่างความมั่นใจดังกล่าวกับการเป็นแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท (แพทย์เพื่อชนบท) การสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนแพทย์ในส่วนภูมิภาค รวมถึงปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล โดยเก็บข้อมูลภาคตัดขวางของบัณฑิตแพทย์ที่ทำสัญญาปฏิบัติงานกับกระทรวงสาธารณสุขในปี พ.ศ. 2555 โดยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าบัณฑิตแพทย์มีระดับความมั่นใจด้านการสื่อสารกับผู้ป่วยและการทำงานเป็นทีมสุขภาพมากที่สุด แต่มีความมั่นใจด้านสูติกรรม การบริหารและงานสาธารณสุขน้อยที่สุด ทั้งนี้แพทย์เพื่อชนบทและแพทย์ที่สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนแพทย์ในส่วนภูมิภาคมีความมั่นใจในทักษะด้านหัตถการและความรู้ทั่วไปมากกว่าแพทย์ในระบบปกติและแพทย์ที่สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนแพทย์ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปัจจัยการเป็นเพศชายและการจบมัธยมปลายจากโรงเรียนในชนบทมีแนวโน้มเพิ่มความมั่นใจด้านการบริหารและงานสาธารณสุข อายุที่มากขึ้นมีแนวโน้มเพิ่มความมั่นใจในความสามารถทางคลินิกสาขาสูติกรรม | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ความมั่นใจในความรู้ ทักษะและความสามารถทางการแพทย์และสาธารณสุขของบัณฑิตแพทย์: การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและการถดถอยพหุคูณ | en_US |
dc.title.alternative | Newly medical graduates’ confidence in medical and public-health competency: exploratory factor analysis and multiple regression | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to determine the level of confidence in medical and public-health competency, and identify the relationship between such confidence with the Collaborative Project to Increase Production of Rural Doctor (CPIRD) programme, regional medical school graduation and individual attributes. A crosssectional survey was conducted amongst newly medical graduates, who were making a contract with the Ministry of Public Health for compulsory rural service in 2012, by using self-administered questionnaires. Factor analysis and multiple regression were applied for data analysis. The results showed that medical graduates were more confident in communication skill and interprofessional collaboration, but less confident in obstretics, public-health and administrative competency. Doctors in the CPIRD programme and those graduating from regional medical schools were more confident in operative procedure skill and general medical knowledge than graduates in the normal track and those graduating from medical schools in Bangkok and vicinity. In addition, being male and rural high school graduation tended to increase the confidence in public-health and administrative competency. Likewise, increasing age had a tendency to enhance the confidence in obstetrics competency. | en_US |
dc.subject.keyword | การผลิตแพทย์ | en_US |
dc.subject.keyword | บัณฑิตแพทย์ | en_US |
.custom.citation | ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์, ฐิติกร โตโพธิ์ไทย, ชมพูนุท ไทยจินดา, นงลักษณ์ พะไกยะ, ธัญธิตา วิสัยจร, นพคุณ ธรรมธัชอารี, วิชช์ เกษมทรัพย์, วีระศักดิ์ พุทธาศรี, Rapeepong Suphanchaimat, Thitikorn Topothai, Chompoonut Thaichinda, Nonglak Pagaiya, Thunthita Wisaijohn, Noppakun Thammathacharee, Vijj Kasemsup and Weerasak Puthasri. "ความมั่นใจในความรู้ ทักษะและความสามารถทางการแพทย์และสาธารณสุขของบัณฑิตแพทย์: การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและการถดถอยพหุคูณ." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3791">http://hdl.handle.net/11228/3791</a>. | |
.custom.total_download | 987 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 11 | |
.custom.downloaded_this_year | 162 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 36 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ