Improving Drug Acquisition in Public Hospitals using the Pharmaceutical Acquisition Capability (PAC) Approach
dc.contributor.author | ศิริพา อุดมอักษร | en_US |
dc.contributor.author | รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์ | en_US |
dc.contributor.author | นุศราพร เกษสมบูรณ์ | en_US |
dc.contributor.author | ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง | en_US |
dc.contributor.author | อินทิรา กาญจนพิบูลย์ | en_US |
dc.contributor.author | Siripa Udomaksorn | en_EN |
dc.contributor.author | Rungpetch Sakulbumrungsi | en_EN |
dc.contributor.author | Nusaraporn Kessomboon | en_EN |
dc.contributor.author | Paithip Luangruangrong | en_EN |
dc.contributor.author | Inthira Kanchanapibul | en_EN |
dc.date.accessioned | 2013-03-20T06:54:05Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:19:05Z | |
dc.date.available | 2013-03-20T06:54:05Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:19:05Z | |
dc.date.issued | 2555-12 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 6,4 (ต.ค.-ธ.ค.2555) : 476-485 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3793 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ขีดความสามารถในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์ยาของโรงพยาบาลภาครัฐตามแนวทางของ PAC ใช้ข้อมูลการจัดซื้อยาของโรงพยาบาลภาครัฐปี 2553 จากศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านยาและเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข โดยคัดเลือกเฉพาะรายการยาที่มีจำนวนข้อมูลมากกว่า 3 โรงพยาบาล ซึ่งมีรวม 31 รายการ ใน 5 กลุ่มยา ได้แก่ 1) HMG-CoA-reductase inhibitors หรือ Statin, 2) Proton pump inhibitors (PPI), 3) Blood-glucose-lowering drugs, 4) COX-2 selective inhibitor, และ 5) Mixed Statin ผลการวิเคราะห์ พบว่า มีการจัดซื้อในหลายตลาดที่ยังสามารถทำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้ ตลาดเหล่านี้จะมีผลลัพธ์ค่าสัมประสิทธิ์ Gini ที่สูงกว่า 0.500 ในแนวทาง PAC หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ผู้ซื้อส่วนใหญ่ยังสามารถต่อรองราคาได้ถูกกว่าราคาที่จัดซื้อได้ นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาจากค่า PAC เฉลี่ยของตลาด พบว่ามักมีค่าสูงในตลาดที่มีผู้ขายหลายราย หมายถึง ผู้ซื้อมีขีดความสามารถในการต่อรองสูงเมื่อเทียบกับตลาดที่มีผู้ขายรายเดียว ซึ่งบ่งชี้ว่าตลาดอยู่ในมือผู้ซื้อ และหากมีการจัดซื้อตามราคาที่แนะนำโดย PAC-DSS จะสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายลงได้ประมาณ 77 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศ PAC-DSS ให้มากขึ้น ควรมีการกำหนดมาตรฐาน และการพัฒนาระบบการนำเข้าข้อมูลให้เกิดความสะดวกกับผู้นำส่งข้อมูล เพื่อเป็นแรงจูงใจให้โรงพยาบาลจัดส่งข้อมูลการจัดซื้อยามากขึ้น นอกจากนี้ การสร้างสารสนเทศตอบกลับที่ช่วยสนับสนุนขีดความสามารถในการจัดซื้อยังเป็นส่วนที่ต้องพัฒนาต่อไป | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ขีดความสามารถในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์ยาของโรงพยาบาลภาครัฐตามแนวทางของ Pharmaceutical Acquisition Capability (PAC) | en_US |
dc.title.alternative | Improving Drug Acquisition in Public Hospitals using the Pharmaceutical Acquisition Capability (PAC) Approach | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to analyze pharmaceutical purchasing capability of public hospitals using the Pharmaceutical Acquisition Capability (PAC) Approach. The 2010 purchasing data of public hospitals was provided by the Drug and Medical Supply Information Center (DMSIC), Ministry of Public Health. the data analysis was done by selecting the drug items that were submitted to DMSIC by more than 3 public hospitals. Total 31 items were included in this study that were categorized into 5 pharmacological groups i.e. 1) HMG-CoA-reductase inhibitors or Statin, 2) Proton pump inhibitors (PPI), 3) Blood-glucoselowering drugs, 4) COX-2 selective inhibitor, and 5) Combination of Statin. It was found that a number of markets held Gini coefficient higher than 0.500. This could be interpreted that purchasers in this market could buy the product at lower price suggested by PAC-DSS. In addition, high average PAC was also found in the market with multiple sellers, leading to the recommendation that purchasers could easily negotiate their price in this market. The study estimated that if hospitals had purchased 31 drug items at PAC-DSS suggested prices, these public hospitals as a whole would have gained 77 million baht saving. The standardization and development of data entry system is strongly recommended for better outputs. The future study on additional invention of feedback information is also suggested to benefit users. | en_US |
dc.subject.keyword | การจัดซื้อยา | en_US |
dc.subject.keyword | Acquisition Capability (PAC) | en_US |
.custom.citation | ศิริพา อุดมอักษร, รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์, นุศราพร เกษสมบูรณ์, ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง, อินทิรา กาญจนพิบูลย์, Siripa Udomaksorn, Rungpetch Sakulbumrungsi, Nusaraporn Kessomboon, Paithip Luangruangrong and Inthira Kanchanapibul. "ขีดความสามารถในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์ยาของโรงพยาบาลภาครัฐตามแนวทางของ Pharmaceutical Acquisition Capability (PAC)." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3793">http://hdl.handle.net/11228/3793</a>. | |
.custom.total_download | 1142 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 9 | |
.custom.downloaded_this_year | 132 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 18 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ