Show simple item record

Introducing Group Activities for Preventing Cardiovascular Disease Risk Factors among Civil Servants in Khirimat District, Sukhothai Province

dc.contributor.authorปิยะ ศิริลักษณ์en_US
dc.contributor.authorPiya Sirilaken_US
dc.coverage.spatialสุโขทัยen_US
dc.date.accessioned2008-10-03T07:58:15Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:56:34Z
dc.date.available2008-10-03T07:58:15Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:56:34Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,2 (ก.ค.-ก.ย. 2550) (ฉบับเสริม1) : 188-198en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/381en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการปรับพฤติกรรมด้วยกระบวนการกลุ่มในการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ประชากรที่ศึกษาเป็นข้าราชการในเขตอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย จำนวน 395 คน โดยมีการรวมตัวดำเนินกิจกรรมรักษาสุขภาพแบบสมัครใจเป็นกลุ่มย่อย 30 กลุ่ม มีโครงสร้างความสัมพันธ์ในกลุ่มที่แน่ชัด และมีแผนการดำเนินกิจกรรมโดยมีการให้ความรู้และดูแลกลุ่มอย่างต่อเนื่องผ่านพี่เลี้ยงและมีเวทีให้ความรู้และแลกเปลี่ยนการเรียนรู้การดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพระหว่างกลุ่ม ได้ทำการศึกษาในช่วงวันที่ 1 มิถุนายน ถึง 1 ตุลาคม 2549 เป็นเวลา 4 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลผลการศึกษาในด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหารและสุขภาพความรู้และประสิทธิผลในการลดปัจจัยเสี่ยง ด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ paired t-test การศึกษาพบว่าพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มข้าราชการหลังเข้าร่วมโครงการดีขึ้น จากการตอบแบบสอบถามพบว่าการบริโภคอาหารประเภทเนื้อสัตว์ติดมัน/ติดหนัง บ่อยครั้งหรือทุกวัน ลดลงจากร้อยละ 12.56 และ 2.53 เป็นร้อยละ 5.50 และ 2.63 บริโภคอาหารประเภทเครื่องในสัตว์บ่อยครั้งหรือทุกวัน ลดลงจากร้อยละ 4.20 และ 4.20 เป็นร้อยละ 1.84 และ 0.26 บริโภคไข่แดงและผลิตภัณฑ์จากไข่บ่อยครั้งหรือทุกวัน ลดลงจากร้อยละ 21.19 และ 2.33 เป็นร้อยละ 14.02 และ 1.59 บริโภคผักบ่อยครั้งหรือทุกวัน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 8.14 และ 1.57 เป็นร้อยละ 39.07 และ 36.76 บริโภคผลไม้สดบ่อยครั้งหรือทุกวัน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 41.24 และ 21.13 เป็นร้อยละ 37.17 และ 26.86 ตามลำดับ ด้านพฤติกรรมสุขภาพพบว่าหลังเข้าร่วมโครงการสมาชิกกลุ่มมีพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอในเดือนที่ผ่านมาเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 31.3 เป็นร้อยละ 40.7 มีพฤติกรรมสูบบุหรี่ในเดือนที่ผ่านมาลดลงจากร้อยละ 11.65 เป็นร้อยละ 8.6 และไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในเดือนที่ผ่านมาเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 57.5 เป็นร้อยละ 68.1 ด้านความรู้ พบว่าคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับโรคหัวใจและหลอดเลือดและปัจจัยเสี่ยงหลังเข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในด้านปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด พบว่าค่าเส้นรอบเอวเฉลี่ยหลังเข้าร่วมโครงการลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนเข้าร่วมโครงการ ค่าแรงดันเลือดสิย์สโทลิค และไดแอสโทลิค รวมทั้งค่าโคเลสเทอรอล และค่าไตรกลีย์เซอไรด์หลังเข้าร่วมโครงการลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุปได้ว่ารูปแบบกระบวนการกลุ่มที่ดำเนินการได้ผลค่อนข้างดีในการป้องกันภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มข้าราชการอำเภอคีรีมาศ ผลการศึกษานี้อาจพัฒนาและประยุกต์ใช้สำหรับข้าราชการในพื้นที่อื่นได้ต่อไปen_US
dc.format.extent249029 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectหลอดเลือด--โรคth_TH
dc.titleการใช้กระบวนการกลุ่มในการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ในกลุ่มข้าราชการอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัยen_US
dc.title.alternativeIntroducing Group Activities for Preventing Cardiovascular Disease Risk Factors among Civil Servants in Khirimat District, Sukhothai Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis action research was aimed at studying a behavior-adaptation model through a group process for cardiovascular disease prevention. The sample population comprised 395 civil servants in Khirimat district of Sukhothai Province, who voluntarily participated in the research; they were divided into 30 sub-groups. All groups had an explicitly defined structure and relationship, including group activities. Knowledge and support staff were provided continuously by the hospital. In addition, the subjects also exchanged group experiences regarding their activities. The research was conducted during the period June 1 to October 1, 2006. Data on the knowledge gained on health behavior and health status improvement were collected. The data were compared and analyzed by using a simple statistical method, such as percentage, mean, and standard deviation, and then tested for significance by using the paired t-test. The results revealed an improvement in eating behavior among the sample population. The questionnaire results showed that frequent or daily consumption of meat or pork with fat decreased respectively from 12.56 percent and 2.53 percent to 5.50 percent and 2.62 percent, frequent or daily consumption of giblets decreased respectively from 4.20 percent and 4.20 percent to 1.84 percent and 2.06 percent, that of consuming egg yolk and egg products decreased respectively from 21.19 percent and 2.33 percent to 14.02 percent and 1.59 percent, frequent or daily consumption of vegetables increased from 8.14 percent and 1.57 percent to 39.07 percent and 36.76 percent and frequent or daily consumption of fruits increased respectively from 41.24 percent and 21.13 percent to 37.17 percent and 28.86 percent. At the end of the research it was found that the sample population exercised regularly. They had increased their level of exercise from 31.3 percent to 40.7 percent, reduced their cigarette smoking from 11.65 percent to 8.6 percent. In measuring those who stopped consuming alcohol, the change was in the opposite direction, i.e., from 57.5 percent to 68.1 percent. Knowledge about cardiovascular risk factors was tested for statistical significance, and the difference was found at p<0.05. Other risk factors, such as waist circumference, systolic and diastolic blood pressure, serum cholesterol and triglyceride levels, were reduced significantly at p<0.05. In conclusion, the group activities undertaken as part of the research improved the knowledge and health behavior, with regard to cardiovascular risk prevention, of Khirimat civil servants as the sample population. We recommend that the behavior adaptation model can be applied and developed for civil servants in other areas.en_US
dc.subject.keywordโรคหัวใจen_US
dc.subject.keywordกระบวนการกลุ่มen_US
dc.subject.keywordCardiovascular Risk Factorsen_US
dc.subject.keywordBehavior Adaptation Modelen_US
.custom.citationปิยะ ศิริลักษณ์ and Piya Sirilak. "การใช้กระบวนการกลุ่มในการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ในกลุ่มข้าราชการอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/381">http://hdl.handle.net/11228/381</a>.
.custom.total_download796
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month8
.custom.downloaded_this_year33
.custom.downloaded_fiscal_year45

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v1n2 ...
Size: 247.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record