Functioning data based on the International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF) classification system: implications for multidisciplinary rehabilitation plans for persons with disabilities
dc.contributor.author | ศิรินาถ ตงศิริ | th_TH |
dc.contributor.author | Sirinart Tongsiri | en_EN |
dc.date.accessioned | 2013-06-18T09:01:07Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:19:21Z | |
dc.date.available | 2013-06-18T09:01:07Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:19:21Z | |
dc.date.issued | 2556-03 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 7,1 (ม.ค.- มี.ค. 2556) : 99-113 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3852 | en_US |
dc.description.abstract | จากการจดทะเบียนคนพิการตั้งแต่ พ.ศ. 2537 ถึง กุมภาพันธ์ 2556 คนพิการในประเทศไทยมีจำนวนประมาณ 1.3 ล้านคน หลายหน่วยงานพยายามให้บริการเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ตามข้อกำหนดในอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการขององค์การสหประชาชาติ แต่ยังไม่เห็นการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจนมากนักในระดับพื้นที่ สาเหตุหนึ่งอาจเป็นเพราะการขาดข้อมูลที่แต่ละหน่วยงานสามารถใช้ร่วมกันในการประสานงานการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการอย่างเป็นองค์รวม องค์การอนามัยโลกได้แนะนำให้ประเทศสมาชิกใช้เครื่องมือที่เรียกว่า International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF) ในการเก็บข้อมูลสมรรถนะของคนพิการ ผู้วิจัยได้นำเอาแบบสอบถามที่ได้พัฒนาขึ้นมาจากเครื่องมือ ICF มาใช้ในการเก็บข้อมูลคนพิการที่จดทะเบียนคนพิการแล้วในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคามโดยวิธีการสัมภาษณ์ คนพิการที่ได้รับการสัมภาษณ์มีจำนวนทั้งสิ้น 328 คน ข้อมูลที่ได้ประกอบด้วย ลักษณะความพิการ ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง ความต้องการการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการศึกษา การประกอบอาชีพ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม และการได้รับสิทธิประโยชน์ สิ่งที่ได้จากฐานข้อมูลเชิงสมรรถนะของคนพิการนี้ สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ติดตามและประเมินผลแผนการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในระดับชุมชนได้ และควรเผยแพร่ให้กับหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการฟื้นฟูสมรรถภาพได้ทราบเพื่อวางแผนในการฟื้นฟูสมรรถภาพร่วมกับหน่วยงานอื่น ควรมีหน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูล ประมวลผล และจัดทำฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน รวมทั้งเป็นผู้ประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | แนวทางการนำฐานข้อมูลสมรรถนะของคนพิการไปใช้ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในชุมชน | th_TH |
dc.title.alternative | Functioning data based on the International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF) classification system: implications for multidisciplinary rehabilitation plans for persons with disabilities | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Approximately 1.3 million people have been registered as persons with disabilities (PWDs) according to the Persons with Disabilities’ Quality of Life Promotion Act (2007) of Thailand. There have been a number of regulations across multiple governmental organizations launched as following actions recommended by the United Nation Convention on Rights of Persons with Disabilities. There were, however, quite a few rehabilitation projects implemented by local level policies. One possible reason could be the lack of comprehensive database which can be shared among different organizations providing rehabilitation services for people in need. The International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF) was introduced by the World Health Organization to be used to record functions and levels of disabilities in a person. The author applied a questionnaire based on the concept and ICF classification system in face-to-face interviews with 328 PWDs in the Mahasarakham Municipality. Database comprised of types of impairment, ability to perform activities of daily living, needs for education, vocation, social participation and benefits entitled. The database can be used to develop individual multidisciplinary rehabilitation plans which could be regularly monitored and evaluated whether rehabilitation goals are achieved. The database should be user-friendly, easily accessible and timely updated. Another factor that should be created is an organization perform as a coordinator across multiple organization to emphasize the success of the improvement of PWDs’ quality of life. | en_US |
dc.subject.keyword | แบบสอบถาม ICF | en_US |
dc.subject.keyword | คนพิการ | en_US |
dc.subject.keyword | การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในชุมชน | en_US |
dc.subject.keyword | ICF | en_US |
dc.subject.keyword | Persons with Disabilities | en_US |
dc.subject.keyword | Multidisciplinary Rehabilitation Plans | en_US |
.custom.citation | ศิรินาถ ตงศิริ and Sirinart Tongsiri. "แนวทางการนำฐานข้อมูลสมรรถนะของคนพิการไปใช้ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในชุมชน." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3852">http://hdl.handle.net/11228/3852</a>. | |
.custom.total_download | 2079 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 39 | |
.custom.downloaded_this_year | 451 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 85 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ