แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การซื้อและการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

dc.contributor.authorนงนุช ใจชื่นen_US
dc.contributor.authorสิรินทร์ยา พูลเกิดen_US
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ ไชยสงค์en_US
dc.contributor.authorทักษพล ธรรมรังสีen_US
dc.contributor.authorNongnuch Jaichuenen_EN
dc.contributor.authorSirinya Phulkerden_EN
dc.contributor.authorSurasak Chaiyasongen_EN
dc.contributor.authorThaksaphon Thamarangsien_EN
dc.date.accessioned2013-06-19T03:57:56Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:19:40Z
dc.date.available2013-06-19T03:57:56Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:19:40Z
dc.date.issued2556-03en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 7,1 (ม.ค.- มี.ค. 2556) : 137-150en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3855en_US
dc.description.abstractการบริโภคอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็กส่งผลต่อสุขภาวะรวมถึงการเจ็บป่วย การศึกษาพฤติกรรมการซื้อและการบริโภคอาหารของเด็กในประเทศไทยมีไม่มากนัก การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อและการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทำการสุ่มเลือกนักเรียน จำนวน 100 คน จากนักเรียนทั้งหมด 453 คน ในสองจังหวัด โดยนักเรียนตอบแบบสอบถามด้วยตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและเครื่องดื่ม และได้รับเงินจำนวนหนึ่งเพื่อซื้ออาหารและเครื่องดื่มในร้านค้าสะดวกซื้อ ทำการสังเกตพฤติกรรมการซื้อทั้งชนิดและราคา จากนั้น คัดเลือกนักเรียนกลุ่มนี้จำนวน 39 คน เข้าสู่การสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนทั้งหมด 100 คน ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ได้แก่ การบริโภคอาหารเช้า (ร้อยละ 89) การบริโภคผักและผลไม้ (ร้อยละ 97) สัดส่วนของนักเรียนที่บริโภคอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ: ขนมขบเคี้ยว เบเกอรี่ ฟาสต์ฟู้ด ขนมหวาน และเครื่องดื่มที่มีรสหวานเท่ากับร้อยละ 100, ร้อยละ 98, ร้อยละ 99, ร้อยละ 90.9 และ ร้อยละ 90.9 ตามลำดับ นักเรียนส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการซื้ออาหารและเครื่องดื่มที่ไม่ดีต่อสุขภาพ โดยซื้อเครื่องดื่มที่มีรสหวานมากที่สุด (ร้อยละ 91.7) รองลงมาคือ ขนมขบเคี้ยว (ร้อยละ 67.9) เบเกอรี่ (ร้อยละ 46.4) และขนมหวาน (ร้อยละ 39.3) มีค่าใช้จ่ายในการซื้ออาหารและเครื่องดื่ม 21-40 บาท ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อและบริโภคอาหารและเครื่องดื่มของนักเรียน นอกจากรสชาติและความชอบส่วนบุคคลแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นๆ อีก เช่น บทบาทของครอบครัว ความสะดวกในการซื้อ การจัดวางจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม สถานที่ตั้งของร้านสะดวกซื้อ สภาพแวดล้อมรอบบริเวณโรงเรียน และสื่อโฆษณาร่วมด้วย การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า เด็กนักเรียนบริโภคอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพกันมาก ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ต้องให้ความใส่ใจและดำเนินมาตรการจัดการแก้ปัญหาทั้งในระดับบุคคลและสภาพแวดล้อมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการซื้อและการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativePurchasing and Eating of Food and Beverages in Primary 6 Studentsen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeUnhealthy diets consumption in particular early starting in children is a crucial determinant of health conditions and diseases. There is less research on diet purchasing and eating behaviors among children in Thailand. The objectives of this study were to explore food and beverages purchasing and eating behaviors of primary grade 6 students. A hundred of students were randomly selected from 453 students in two provinces. The students were asked to complete a self-administered questionnaire on food and beverages consumption. They received a certain amount of cashes to buy any food and beverages in convenience stores; type and prices of food and beverages they bought together with purchasing behaviors were observed. To gain more understanding of students’ eating and purchasing behaviors, 39 out of them were drawn for semi-structured in-depth interview. Descriptive statistics and content analysis were applied to these data. Of total 100 students, most of them had good eating behaviors as consuming breakfast (89%) and vegetables and fruit (97%). The proportions of students reported eating unhealthy diets: snack, bakery, fast food, candy and sweetened beverages were 100%, 98%, 97%, 90.9% and 90.9%, respectively. In purchasing part, the most bought unhealthy food and beverages were sweetened beverages (91.7%), followed by snack (67.9%), bakery (46.4%) and candy (39.3%) which expenses were between 21 and 40 baht. It was explained that not only food and beverage taste and personal preference but also environmental factors as family roles, availability and location of outlets around schools, and ease to access as arrangement in front of the counter together with advertisement of unhealthy food and beverages had potentially influence on students’ eating and purchasing behaviors. The findings of this study illustrate that children substantially consume unhealthy food and beverages. Therefore, there are needed for more attentions and measures at both individual and environmental levels.en_US
dc.subject.keywordพฤติกรรมการซื้อen_US
dc.subject.keywordการบริโภคen_US
dc.subject.keywordอาหารและเครื่องดื่มen_US
dc.subject.keywordPurchasing Behavioren_US
dc.subject.keywordEating Behaviouren_US
dc.subject.keywordFood and Beveragesen_US
dc.subject.keywordPrimary 6 studentsen_US
.custom.citationนงนุช ใจชื่น, สิรินทร์ยา พูลเกิด, สุรศักดิ์ ไชยสงค์, ทักษพล ธรรมรังสี, Nongnuch Jaichuen, Sirinya Phulkerd, Surasak Chaiyasong and Thaksaphon Thamarangsi. "การซื้อและการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3855">http://hdl.handle.net/11228/3855</a>.
.custom.total_download2034
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month5
.custom.downloaded_this_year199
.custom.downloaded_fiscal_year20

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v7n1 ...
ขนาด: 299.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย