แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

นโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ในไต้หวัน

dc.contributor.authorรัชดา เกษมทรัพย์en_US
dc.contributor.authorนัยนา ณีศะนันท์en_US
dc.contributor.authorRachada Kasemsupen_EN
dc.contributor.authorNaiyana Neesananen_EN
dc.date.accessioned2013-06-19T07:47:51Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:19:25Z
dc.date.available2013-06-19T07:47:51Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:19:25Z
dc.date.issued2556-03en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 7,1 (ม.ค.- มี.ค. 2556) : 182-195en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3858en_US
dc.description.abstractไต้หวันพัฒนานโยบายสร้างเสริมสุขภาพตามหลักการของ Ottawa Charter for Health Promotion รัฐบาลให้ความสำคัญกับระบบการให้บริการทางสาธารณสุขในระดับชุมชนและการประสานการทำงานระหว่างส่วนกลางกับส่วนภูมิภาค โครงการที่เกี่ยวข้องกับทารกและเด็กเล็กที่น่าสนใจ ได้แก่ โครงการตรวจคัดกรองโรคทางเมตาบอลิค 11 โรคในทารกแรกเกิดทุกรายทั่วประเทศ และในกรณีที่ตรวจพบโรค ทารกจะได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยและรักษาเพิ่มเติม โดยรัฐบาลสนับสนุนค่าใช้จ่ายซึ่งรวมไปถึงนมและอาหารเฉพาะโรคตามกฎหมาย Rare Disease and Orphan Drug Act โครงการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กซึ่งมีแผนการทำงานเป็นลำดับขั้นตอนโดยเริ่มจากการป้องกันตั้งแต่ช่วงก่อนตั้งครรภ์ การตรวจคัดกรองพัฒนาการตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 7 ปีอย่างต่อเนื่องทั้งหมดอย่างน้อย 9 ครั้ง การรายงานและส่งต่อเด็กที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้า รวมทั้งมีการประเมินและวางแผนการช่วยเหลือแบบรายบุคคลโดยทีมสหวิชาชีพพร้อมกับการจัดหาแหล่งบริการทางด้านสังคมและการศึกษา โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันซึ่งมีการรวบรวมข้อมูลการให้บริการวัคซีนทั่วประเทศอย่างเป็นระบบและแจ้งเตือนนัดหมายการฉีดวัคซีนครั้งต่อไป ไต้หวันยังเป็นประเทศแรกที่มีการตรวจคัดกรองภาวะท่อน้ำดีอุดตันตั้งแต่แรกเกิดโดยใช้รูปภาพสีอุจจาระ นอกจากนี้ ยังมีการส่งเสริมอัตราการเกิดโดยให้การช่วยเหลือคู่สมรสที่มีปัญหามีบุตรยากให้สามารถผสมเทียมได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายและจริยธรรม โดยสรุป นโยบายส่งเสริมสุขภาพของไต้หวันเน้นการเพิ่มอัตราการเกิด การพัฒนาคุณภาพของประชากรตั้งแต่แรกเกิดโดยเฉพาะทางด้านพัฒนาการโดยการตรวจคัดกรองและรักษาโดยเร็วen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleนโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ในไต้หวันen_US
dc.title.alternativeHealth promotion and disease prevention policies for children age 0-5 years in Taiwanen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeStrategies for health promotion in Taiwan were developed based on the Ottawa Charter for Health Promotion. The main health projects are broadly implemented in hospitals and health stations in communities as well as in cities, schools, and workplaces. Health projects that are related to infants and young children include the newborn screening program for 11 genetic metabolic disorders, child health check-up preventive services, vaccination services, early detection and reporting of children with retarded development, and management of rare diseases. At birth, every newborn is screened for 11 common genetic metabolic disorders. An infant who has any of these metabolic disorders would be sent for further diagnosis, treatment and monitoring. Expenses related to medication and nutrition supplements are supported by the National Health Insurance system as specified under the conditions of the Rare Disease and Orphan Drug Act. Moreover, the early intervention service (EIS) for children with developmental delay is an integrated and inter-discipline service. The implementation of screening and prevention of developmental delay is started from antenatal period and continued to the age of seven years old. Suspected cases of children with developmental delay will be referred to special health centers for further investigation and treatment. The immunization coverage rate is as high as 95 percent due to an efficient national immunization information system. Taiwan is also the first nation that uses a “stool color card” in a well child visit book. The screening helps with the early detection and treatment of infants with biliary atresia. In conclusion, health promotion policies in Taiwan aim at increasing birth rates, providing early screening, and maximizing the child’s potential development. However, most references in this review were from the government, a situation which may reflect only favorable aspects of public health policies.en_US
dc.subject.keywordนโยบายสุขภาพเด็กen_US
dc.subject.keywordไต้หวันen_US
dc.subject.keywordChild health policyen_US
dc.subject.keywordTaiwanen_US
.custom.citationรัชดา เกษมทรัพย์, นัยนา ณีศะนันท์, Rachada Kasemsup and Naiyana Neesanan. "นโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ในไต้หวัน." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3858">http://hdl.handle.net/11228/3858</a>.
.custom.total_download1307
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month6
.custom.downloaded_this_year169
.custom.downloaded_fiscal_year17

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v7n1 ...
ขนาด: 556.9Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย