Show simple item record

การประเมินผลและทบทวนแนวคิดการนำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติไปใช้ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสังคมไทย

dc.contributor.advisorณรงศักดิ์ อังคะสุวพลาen_US
dc.contributor.advisorพงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุขen_US
dc.contributor.advisorอำพล จินดาวัฒนะen_US
dc.contributor.advisorอรพรรณ ศรีสุขวัฒนาen_US
dc.contributor.authorเดชรัต สุขกำเนิดen_US
dc.contributor.editorจรวยพร ศรีศศลักษณ์en_US
dc.date.accessioned2013-10-02T06:33:13Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:31:00Z
dc.date.available2013-10-02T06:33:13Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:31:00Z
dc.date.issued2556-09en_US
dc.identifier.isbn9789742992095en_US
dc.identifier.otherhs2072en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3890en_US
dc.description.abstractธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเป็นนวัตกรรมใหม่ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสังคมไทย ที่เกิดขึ้นตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 แม้ว่าการนำธรรมนูญสุขภาพฯ มาใช้ในฐานะของเจตจำนงและพันธะร่วมกันของภาคส่วนต่างๆ ในสังคม จะช่วยเน้นย้ำถึงระบบสุขภาพที่พึงปรารถนา แต่การขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพฯ ยังขาดความชัดเจนในทางยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนหรือขาดความชัดเจนในทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งยังขาดการสื่อสารและกลไกการขับเคลื่อนที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ ทำให้ประสิทธิผลในการเปลี่ยนแปลงสังคมจำกัดลงโดยปริยาย อย่างไรก็ดี การพัฒนาธรรมนูญสุขภาพฯ ระดับพื้นที่ได้สร้างปรากฏการณ์ใหม่ในสังคมไทย และขยายตัวไปสู่พื้นที่อื่นๆ และบริบทอื่นๆ อย่างกว้างขวาง เพราะการพัฒนาธรรมนูญสุขภาพฯ ระดับพื้นที่สามารถเชื่อมโยงเป้าหมายของผู้คน ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนและวิถีชีวิตและวิธีคิดของผู้คนได้เป็นอย่างดี ทางเลือกในการพัฒนาธรรมนูญสุขภาพฯ จึงต้องเน้นการพัฒนาทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจน เช่น การครองความเป็นเจ้าทางอุดมการณ์ การพัฒนากระบวนการสังเคราะห์เพื่อหาทางออกร่วมกันในระหว่างผู้ที่มีชุดความคิดที่แตกต่างกัน และการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางอำนาจในการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพฯ โดยเฉพาะการเข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบอย่างมีความหมายของภาคส่วนต่างๆ ที่ยังมิได้มีบทบาทโดยตรงในคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ นอกจากนี้ในทางปฏิบัติการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพฯ จำเป็นต้องถมช่องว่างในการขับเคลื่อนของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถร่วมขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิผล และจะต้องพัฒนาระบบการสื่อสารที่มีพลัง และการขับเคลื่อนแบบสะท้อนย้อนคิดเพื่อให้ทุกภาคส่วนๆ ได้มีส่วนในการทบทวนความคืบหน้าและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอย่างรอบคอบไปพร้อมๆ กันen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติen_US
dc.format.extent279897 bytesen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติen_US
dc.subjectระบบสุขภาพen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการประเมินผลและทบทวนแนวคิดการนำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติไปใช้ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสังคมไทยen_US
dc.title.alternativeThe Report on Evaluation and Conceptual Review of Thailand’s National Health Statue and Its Mobilization in Thai Health Sector and Thai Societyen_US
dc.title.alternativeประเมินและทบทวนแนวคิดธรรมนูญสุขภาพen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoWA32.JT3 ด837ท 2556en_US
dc.identifier.callnoJ ด837ป 2556en_US
dc.identifier.contactno55-038en_US
dc.subject.keywordธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติen_US
dc.subject.keywordThailand’s National Health Statueen_US
.custom.citationเดชรัต สุขกำเนิด. "การประเมินผลและทบทวนแนวคิดการนำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติไปใช้ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสังคมไทย." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3890">http://hdl.handle.net/11228/3890</a>.
.custom.total_download369
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month3
.custom.downloaded_this_year11
.custom.downloaded_fiscal_year4

Fulltext
Icon
Name: hs2072-ฉบับพิมพ์.pdf
Size: 1.969Mb
Format: PDF
Icon
Name: hs2072-ฉบับวิจัย.pdf
Size: 290.3Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record