dc.contributor.author | ภาสกร สวนเรือง | th_TH |
dc.contributor.author | Passakorn Suanrueang | en_US |
dc.contributor.author | อัจฉราวรรณ โตภาคงาม | th_TH |
dc.contributor.author | Acharawan Topark-ngarm | en_US |
dc.contributor.author | สุมนต์ สกลไชย | th_TH |
dc.contributor.author | Sumon Sakolchai | en_US |
dc.contributor.author | จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Chulaporn Limwattananon | en_US |
dc.contributor.author | ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล | th_TH |
dc.contributor.author | Paiboon Suriyawongpaisarn | en_US |
dc.contributor.author | สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Samrit Srithamrongsawat | en_US |
dc.date.accessioned | 2013-11-15T03:38:30Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:20:05Z | |
dc.date.available | 2013-11-15T03:38:30Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:20:05Z | |
dc.date.issued | 2556-06 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 7,2 (เม.ย.-มิ.ย.2556) : 223-234 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3901 | en_US |
dc.description.abstract | ค่าใช้จ่ายด้านยาในระบบจ่ายตรงของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ มีแนวโน้มเพิ่มสูงมาก การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจมาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผล และการควบคุมค่าใช้จ่ายที่มีการดำเนินการในโรงพยาบาล 34 แห่งสำหรับยา 9 กลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง ผลการศึกษา พบว่า มาตรการฯ ที่โรงพยาบาลส่วนใหญ่ดำเนินการในลำดับแรก สำหรับกลุ่มยาลดการหลั่งกรดกลุ่ม PPIs ยาต้านการอักเสบกลุ่ม NSAIDs และ coxibs ยาลดไขมันในเลือด ยาลดความดันกลุ่ม ARBs กลูโคซามีน และยาโรคกระดูกพรุน คือ การขอความร่วมมือแพทย์ให้เฝ้าระวังเรื่องข้อบ่งชี้การใช้ยา ส่วนมาตรการในลำดับแรกสำหรับกลุ่มยาต้านเกร็ดเลือด ยาลดความดันกลุ่ม ACEIs และยาต้านมะเร็ง คือ ใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติได้ โดยแพทย์ระบุเหตุผลและความจำเป็นในการสั่ง โรงพยาบาลมีนโยบายส่งเสริมให้แพทย์ใช้ยาผลิตในประเทศ หรือยาชื่อสามัญเพิ่มขึ้นในปีงบประมาณ 2555 เมื่อเปรียบเทียบกับปีงบประมาณ 2554 ใน 5 กลุ่มยา คือ ยาต้านเกร็ดเลือด ยาต้านการอักเสบ ยาลดไขมันในเลือด ยาลดความดันกลุ่ม ACEIs และยาลดความดันกลุ่ม ARBs โรงพยาบาลยังไม่นิยมมาตรการที่กำหนดให้ใช้ยาชื่อสามัญและยาทดแทนในรายการยาเป้าหมาย มาตรการที่กำหนดให้ผู้ป่วยสำรองจ่ายค่ายานอกบัญชียาหลักแห่งชาติแล้วนำไปเบิกต้นสังกัดเอง มารตาการที่กำหนดให้การสั่งใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติต้องผ่านการอนุมัติจากผู้อำนวยการก่อนใน 9 กลุ่มยาที่ศึกษา โดยสรุป โรงพยาบาลยังไม่ดำเนินมาตรการที่เข้มงวดเพื่อส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผลสำหรับยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ เช่น มาตรการทดแทนยาชื่อสามัญ มาตรการยาทดแทนในรายการยาเป้าหมาย หรือมาตรการที่กำหนดให้มีการอนุมัติจากผู้อำนวยการก่อนสั่งใช้ยา ในกลุ่มยาที่กรมบัญชีกลางให้ความสำคัญในการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยาในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 397417 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ยา | en_US |
dc.title | มาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผลในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการของโรงพยาบาล 34 แห่ง สำหรับยา 9 กลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง | th_TH |
dc.title.alternative | Measures for promoting rational use of high cost drugs in hospitals under Civil Servant Medical Benefit Scheme | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Drug expenditure in the Civil Servant Medical Benefit Scheme (CSMBS)’s Direct Billing System shows
an increasing trend. The study aims to identify the measures in 34 hospitals for promoting the rational use
of drugs in high-cost therapeutic classes and for controlling their expenditures. The study found that most
hospitals placed a priority measure for proton pump inhibitors (PPIs), non-steroidal anti-inflammatory
drugs (NSAIDs) and Coxibs, antihyperlipidemics, angiotensin-2 receptor blockers (ARBs), glucosamine
and anti-osteoporosis by requesting physicians to comply with rational indications. The priority measure
for anti-platelet aggregates, angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs) and anti-cancers was requirement
of written statement for reasons in prescribing non-essential drugs. An increase in the number
of hospitals encouraging the prescribing of generic drugs in 2012 as compared to 2011 was found for antiplatelet
aggregates, NSAIDs, antihyperlipidemics, ACEIs and ARBs. However, the generic and therapeutic
substitution policy was not imposed in most hospitals. For non-essential-drug prescriptions, most hospitals
did not require prior authorization by hospital administrators nor did they require patient’s out-ofpocket
payment for later reimbursement. In conclusion, hospitals did not enforce a restrictive measure for
promoting the rational use of drugs featured on the priority list of the Comptroller General Department’s
CSMBS. | en_US |
dc.subject.keyword | การใช้ยา | en_US |
dc.subject.keyword | ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ | en_US |
dc.subject.keyword | ยาชื่อสามัญ | en_US |
dc.subject.keyword | ยานอกบัญชียาหลัก | en_US |
dc.subject.keyword | Civil Servant Medical Benefit Scheme | en_US |
dc.subject.keyword | Cost Containment | en_US |
dc.subject.keyword | Generic Drug | en_US |
dc.subject.keyword | Non-essential Drug | en_US |
.custom.citation | ภาสกร สวนเรือง, Passakorn Suanrueang, อัจฉราวรรณ โตภาคงาม, Acharawan Topark-ngarm, สุมนต์ สกลไชย, Sumon Sakolchai, จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, Chulaporn Limwattananon, ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล, Paiboon Suriyawongpaisarn, สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ and Samrit Srithamrongsawat. "มาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผลในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการของโรงพยาบาล 34 แห่ง สำหรับยา 9 กลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3901">http://hdl.handle.net/11228/3901</a>. | |
.custom.total_download | 1965 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 21 | |
.custom.downloaded_this_year | 283 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 61 | |