Door-to-needle time for administration of fibrinolytics in acute myocardial infarction
dc.contributor.author | กฤษฎา ศิริชัยสิทธิ์ | en_US |
dc.contributor.author | Kridsada Sirichaisit | en_US |
dc.date.accessioned | 2013-11-15T09:09:33Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:20:03Z | |
dc.date.available | 2013-11-15T09:09:33Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:20:03Z | |
dc.date.issued | 2556-06 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 7,2 (เม.ย.-มิ.ย.2556) : 313-319 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/3909 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยย้อนหลังเชิงพรรณนานี้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลาที่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลจนได้รับยาละลายลิ่มเลือด (door-to-needle time) ในการให้ยาละลายลิ่มเลือดแก่ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในโรงพยาบาลบึงกาฬ โดยศึกษาข้อมูลจากเวชระเบียนผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับ Streptokinase ในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 ถึง ตุลาคม พ.ศ. 2555 จากผู้ป่วย 37 คน พบว่ามีผู้ป่วยร้อยละ 59 ได้รับ Streptokinase ภายใน 30 นาที ปัจจัยที่มีผลต่อการให้ Streptokinase ได้ทันภายใน 30 นาทีที่นำมาศึกษาคือ ช่วงเวลาภายในและนอกเวลาราชการ, อาการนำแสดงของผู้ป่วย, และช่วงก่อนและหลังการใช้ care map โดยไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้ง 3 ปัจจัย แต่พบแนวโน้มของปัจจัยที่มีผลต่อการให้ยาภายใน 30 นาที คือ ช่วงนอกเวลาราชการ, อาการนำแสดงที่ชัดเจน และช่วงภายหลังการใช้ care map โดยมีร้อยละของผู้ป่วยที่รับยาทันเท่ากับ 68, 60.6, 63 ตามลำดับ แม้ว่า door-to-needle time เฉลี่ย ภายหลังการใช้ care map จะไม่ลดลง แต่ผู้ป่วยได้รับ Streptokinase ทันภายใน 30 นาที เพิ่มจาก 50% เป็น 63% การลดระยะเวลาการให้ Streptokinase จะต้องอาศัยการพัฒนา care map ในรูปแบบเครือข่ายต่อไป | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 386307 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | Door-to-needle time สำหรับการให้ยาละลายลิ่มเลือดในโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน | en_US |
dc.title.alternative | Door-to-needle time for administration of fibrinolytics in acute myocardial infarction | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The study aims to identify factors that affect the door-to-needle time for fibrinolytic therapy in patients with acute myocardial infarction in Buengkan hospital. A retrospective review of medical records from October 2554 to October 2555 was conducted of all patients receiving thrombolytics for AMI. A total of 37 patients with acute ST elevation myocardial infarction (STEMI) were identified. Median door-toneedle time achieved was 30 minutes (range 10 - 180mins). A door-to-needle time of 30 minutes or less was achieved in 22 (59%) patients. The predominant infarct location on EKG was anterior (35%). The three factors that can affect door-to-needle time were evaluated: office hours, symptoms and use of care map. Although the study found no statistical difference in the three factors, the percentage of patients whose door-to-needle time within 30 minutes was achieved rose among those who came outside of office hours, presented with typical symptoms, and after the implementation of the STEMI care map, (68, 60.6, and 63 percent, respectively). After implementation, the mean door-to-needle time did not decrease, but the number of patients whose door-to needle-time within 30 minutes was achieved increased from 50% to 63%. Creating a STEMI network in Buengkan Province could decrease the onset-to-needle time. | en_US |
dc.subject.keyword | ยาละลายลิ่มเลือด | en_US |
dc.subject.keyword | Door-to-needle time | en_US |
dc.subject.keyword | โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน | en_US |
dc.subject.keyword | Thrombolytic | en_US |
.custom.citation | กฤษฎา ศิริชัยสิทธิ์ and Kridsada Sirichaisit. "Door-to-needle time สำหรับการให้ยาละลายลิ่มเลือดในโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3909">http://hdl.handle.net/11228/3909</a>. | |
.custom.total_download | 2170 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 0 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 58 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1360]
บทความวิชาการ