แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ประสิทธิผลและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมากในกลุ่มประชากรทั่วไป

dc.contributor.authorคัคนางค์ โตสงวนen_US
dc.contributor.authorKakanang Tosanguanen_US
dc.contributor.authorยศ ตีระวัฒนานนท์en_US
dc.contributor.authorYot Teerawattananonen_US
dc.date.accessioned2014-01-20T04:15:33Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:21:08Z
dc.date.available2014-01-20T04:15:33Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:21:08Z
dc.date.issued2556-09en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 7,3 (ก.ค.- ก.ย. 2556) :400-412en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3954en_US
dc.description.abstractมะเร็งต่อมลูกหมากพบบ่อยในชายสูงอายุแถบประเทศตะวันตก การตรวจคัดกรองมี ๒ วิธีหลัก คือ การตรวจทางทวารหนัก และการตรวจเลือดหาสารชี้บ่งมะเร็งต่อมลูกหมาก PSA ปัจจุบันยังมีข้อถกเถียงเรื่องประโยชน์ โทษ และความคุ้มค่าของการคัดกรอง งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาหลักฐานด้านประโยชน์ของการคัดกรองโดยวิธีทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมานในกลุ่มประชากรทั่วไป จากฐานข้อมูล Medline และ Cochrane library การศึกษาประสิทธิผลมีทั้งหมด ๕ การศึกษา กลุ่มตัวอย่างมีทั้งหมด ๓๒๑,๖๔๔ ราย การคัดกรองและไม่คัดกรองไม่แสดงความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในการลดอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งต่อมลูกหมากทุกกลุ่มอายุหรือรายอายุ (ค่าความเสี่ยงสัมพัทธ์เท่ากับ ๐.๙๙ ช่วงความเชื่อมั่นที่ ๙๕% เท่ากับ ๐.๘๓ - ๑.๑๗) และไม่แสดงความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในการลดอัตราการเสียชีวิตจากการตายทุกสาเหตุ (ค่าความเสี่ยงสัมพัทธ์เท่ากับ ๐.๙๘ ช่วงความเชื่อมั่นที่ ๙๕% เท่ากับ ๐.๙๗ - ๑.๐๐) การศึกษาต้นทุนอรรถประโยชน์ของการคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมากไม่พบความคุ้มค่าen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์การแพทย์en_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectการคัดกรองโรคen_US
dc.subjectมะเร็งต่อมลูกหมากen_US
dc.titleประสิทธิผลและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมากในกลุ่มประชากรทั่วไปen_US
dc.title.alternativeEffectiveness and cost-effectiveness of the population-based prostate cancer screeningen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeProstate cancer is a common malignancy in elderly men in western countries. It is the leading cause of mortality and morbidity worldwide. Two main tools for screening, digital rectal examination (DRA) and prostate-specific antigen (PSA), are still controversial with regards to effectiveness and cost-effectiveness. The study aimed to examine whether screening for prostate cancer reduces prostate cancer specific mortality and all-cause mortality and whether population-based screening for prostate cancer is costeffective. Literature search of randomized controlled trials (RCTs) and economic evaluation articles was conducted through Medline and Cochrane library to assess the effectiveness and cost-effectiveness of the prostate cancer screening. Five RCT with a total of 321,644 participants were included in this review. The meta-analysis showed no statistically significant differences in prostate cancer-specific mortality and allcauses mortality between screening and no-screening groups. Relative risks for mortality from prostate cancer and all cause mortality were 0.99 (95%CI; 0.83-1.17) and 0.98 (95%CI; 0.97-1.00) respectively. Nor was screening found to be cost-effective.en_US
.custom.citationคัคนางค์ โตสงวน, Kakanang Tosanguan, ยศ ตีระวัฒนานนท์ and Yot Teerawattananon. "ประสิทธิผลและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมากในกลุ่มประชากรทั่วไป." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3954">http://hdl.handle.net/11228/3954</a>.
.custom.total_download1183
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month8
.custom.downloaded_this_year101
.custom.downloaded_fiscal_year18

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri_journal_v7n3 ...
ขนาด: 694.7Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย