แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

เปรียบเทียบเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบแก๊สกับเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบน้ำมัน

dc.contributor.authorสมชาย ศรีสมบัณฑิตen_US
dc.contributor.authorSomchai Srisombanditen_US
dc.coverage.spatialยะลาen_US
dc.date.accessioned2008-10-03T08:06:43Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:48Z
dc.date.available2008-10-03T08:06:43Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:48Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,3-4 (ต.ค.-ธ.ค. 2550), 2(ต.ค.-ธ.ค. 2550) : 353-360en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/396en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบแก๊สกับเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบน้ำมันเชื้อเพลิง และเปรียบเทียบความคุ้มทุนด้านงบประมาณที่ใช้ในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อระหว่างเตาเผา 2 ระบบและกับการส่งไปกำจัดที่โรงงานของเทศบาลนครยะลา รวมทั้งประเมินความพึงพอใจต่อเตาเผามูลฝอยติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล จำนวน 127 คน อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ประกอบด้วยแบบสรุปรายงานการเผามูลฝอยติดเชื้อในโรงพยาบาล ระเบียบเทศบาลนครยะลาว่าด้วยการให้บริการ การเก็บ ขนและหรือกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2550 และแบบสอบถามความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิและทดสอบความเที่ยงโดยใช้สัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาฆ ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.83 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติจำนวนร้อยละและค่าเฉลี่ยพบว่า 1. ความคุ้มทุน ในด้านงบประมาณที่ใช้ในการเผามูลฝอยติดเชื้อของเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบแก๊สเปรียบเทียบกับเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบน้ำมันเชื้อเพลิงและการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อไปกำจัดยังโรงงานกำจัดฯ ของเทศบาลนครยะลา พบว่า มูลค่าเฉลี่ยในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยเตาเผาระบบแก๊ส เท่ากับ 3.34 บาท/กิโลกรัม มูลค่าเฉลี่ยในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยเตาเผาระบบน้ำมันเชื้อเพลิง เท่ากับ 23.42 บาท/กิโลกรัม มูลค่าเฉลี่ยในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อไปกำจัดยังโรงงานกำจัดฯ ของเทศบาลนครยะลา เท่ากับ 81.56 บาท/กิโลกรัม เตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบแก๊สมีประสิทธิภาพดีกว่าเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบน้ำมันเชื้อเพลิงในทุกด้าน คือ อัตราการเผาไหม้ ปริมาณกากเถ้าและสิ่งตกค้างที่เหลือจากการเผาไหม้ และจำนวนผู้ปฏิบัติงาน 3. ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล 127 คน อยู่ในระดับดีร้อยละ 12.68 และระดับดีมากร้อยละ 87.32th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleเปรียบเทียบเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบแก๊สกับเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบน้ำมันen_US
dc.title.alternativeComparison of Gas-fired with Fuel-fired Incineratorsen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeA study was conducted to evaluate a gas-fired incinerator system for the eradication of infectious waste compared with a fuel-fired one, with regard to their efficiency in destroying such materials, their cost of operation, and the satisfaction of the 127 hospital staff who have to work with them. The materials employed in the study comprised the reports on hospital infectious waste incineration, the Yala City Municipality Rule 2007 dealing with such services, the collection and eradication of infectious waste, and the statements of hospital staff as contained in questionnaires which had been approved in substance and for accuracy, with a confidential value of 0.83; they were tested using Cronbach’s alpha coefficient. The data were analyzed by using percentage statistics and average. Findings : 1. As regard the effective budget for destroying infectious waste, comparing a gasfired incinerator with a fuel-fired system at the Yala Municipal waste treatment plant, it appeared that: - The average cost for eradicating infectious waste, using the gas-fired incinerator system, is 3.34 baht perkilogram, while that for the fuel-fired system is 23.42 baht per kilogram; the average cost of eradicating infectious waste transported to the Yala Municipal waste treatment plant is 81.56 per kilogram. 2. The comparison between the gas-fired incinerator and the fuel-fired one showed that the gas-fired system had greater efficiency than the fuel-fired system, with regard to combustion rate, quantity of ash produced, residues following combustion and number of staff need to operate the system. 3. As for the satisfaction of the 127 hospital staff concerned, it was found that a good level of satisfaction was 12.68 percent, and a very good contentment level was 87.32 percent.en_EN
dc.subject.keywordเตาเผามูลฝอยen_US
dc.subject.keywordเตาเผาระบบแก๊สen_US
dc.subject.keywordเตาเผาระบบน้ำมันen_US
dc.subject.keywordGas-system Incineratoren_US
dc.subject.keywordFuel-system Incineratoren_US
dc.subject.keywordYalaen_US
.custom.citationสมชาย ศรีสมบัณฑิต and Somchai Srisombandit. "เปรียบเทียบเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบแก๊สกับเตาเผามูลฝอยติดเชื้อระบบน้ำมัน." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/396">http://hdl.handle.net/11228/396</a>.
.custom.total_download532
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month6
.custom.downloaded_this_year88
.custom.downloaded_fiscal_year13

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v1n3 ...
ขนาด: 240.1Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย