แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

แนวทางตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการระดับประชากรในประเทศไทย

dc.contributor.authorสุทธิษา สมนาen_US
dc.contributor.authorSutthisa Sommanaen_US
dc.contributor.authorธนัญญา คู่พิทักษ์ขจรen_US
dc.contributor.authorTanunya Koopitakkajornen_US
dc.contributor.authorยศ ตีระวัฒนานนท์en_US
dc.contributor.authorYot Teerawattananonen_US
dc.contributor.otherโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพen_US
dc.contributor.otherโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพen_US
dc.contributor.otherโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพen_US
dc.date.accessioned2014-03-13T05:48:34Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:21:03Z
dc.date.available2014-03-13T05:48:34Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:21:03Z
dc.date.issued2556-12en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 7,4 (ต.ค.-ธ.ค.2556) : 485-492en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3983en_US
dc.description.abstractบทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรม รวมถึงนโยบาย และเครื่องมือต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ สำหรับการคัดกรองภาวะทุพโภชนาการในกลุ่มประชากรทั่วไป เพื่อใช้เป็นแนวทางคัดกรองภาวะทุพโภชนาการในกลุ่มประชากรทั่วไปในประเทศไทย พบว่าควรคัดกรองในประชาชน ๓ กลุ่ม ได้แก่ ๑) กลุ่มที่มีอายุ ๐-๑๘ ปี ควรคัดกรองตามสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก บัตรบันทึกสุขภาพประจำตัวนักเรียน (สศ.๓) และแบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง ๒) กลุ่มที่มีอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ควรประเมินดัชนีมวลกายทุกครั้งที่เข้ารับรักษาในสถานพยาบาล ๓) กลุ่มที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ควรประเมินดัชนีมวลกายทุกครั้งที่เข้ารับการรักษาในสถานพยาบาล ร่วมกับการซักประวัติ การบริโภคอาหาร น้ำหนักตัวที่ลดลงโดยไม่ตั้งใจ และน้ำหนักตัวที่ลดลงอย่างต่อเนื่องen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent174533 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleแนวทางตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการระดับประชากรในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeDevelopment of population-based screening for malnutrition in Thailanden_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis article is part of a project entitled “Development of population-based screening package in Thailand” and aims to conduct a literature review on policies and tools related to malnutrition screening in the general population for the development of population-based screening in Thailand. For children aged 0-18 years, screening should rely on Mother and Child Health Handbook, primary student medical record form and secondary student medical record form. For those aged 15 and above, body mass index (BMI) should be assessed at each hospital visit. For those aged 60 and above, BMI assessment at each hospital visit, together with asking for a history of food consumption, unintentional weight loss or continued weight loss, is recommended.en_US
dc.subject.keywordทุพโภชนาการen_US
dc.subject.keywordการตรวจคัดกรองโรคen_US
dc.subject.keywordmalnutritionen_US
dc.subject.keywordhealth screeningen_US
.custom.citationสุทธิษา สมนา, Sutthisa Sommana, ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร, Tanunya Koopitakkajorn, ยศ ตีระวัฒนานนท์ and Yot Teerawattananon. "แนวทางตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการระดับประชากรในประเทศไทย." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3983">http://hdl.handle.net/11228/3983</a>.
.custom.total_download1214
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month7
.custom.downloaded_this_year120
.custom.downloaded_fiscal_year13

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri_journal_v7n4 ...
ขนาด: 170.4Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย