Show simple item record

Efficiency of extra-working time dental clinic of Thawung Hospital

dc.contributor.authorวราภรณ์ อินทร์พงษ์พันธุ์en_US
dc.contributor.authorWaraporn Inpongpanen_US
dc.contributor.authorเพ็ญแข ลาภยิ่งen_US
dc.contributor.authorPhenkhae Lapyingen_US
dc.coverage.spatialThawung hospital, Lopburi Provinceen_US
dc.coverage.spatialโรงพยาบาลท่าวุ้ง จังหวัดลพลบุรีen_US
dc.date.accessioned2014-04-01T04:09:54Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:21:25Z
dc.date.available2014-04-01T04:09:54Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:21:25Z
dc.date.issued2557-03en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 8,1 (ม.ค.-มี.ค. 2557) : 103-109en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4005en_US
dc.description.abstractการศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพรายปีของคลินิกทันตกรรมนอกเวลาราชการในโรงพยาบาลท่าวุ้ง ดัชนีประสิทธิภาพในการศึกษาคือ ต้นทุนดำเนินการต่อหน่วยบริการ และอัตราส่วนค่าบริการที่เรียกเก็บต่อต้นทุนดำเนินการ ข้อมูลได้จากฐานข้อมูลของโรงพยาบาลท่าวุ้ง 3 ฐาน คือ การบริการและค่าบริการ วัสดุและเวชภัณฑ์ และสารสนเทศด้านทันตสาธารณสุข ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ผลการศึกษาพบว่า ต้นทุนต่อหน่วยในปีงบประมาณ 2554, 2555 และ 2556 เท่ากับ 656, 552 และ 498 บาทต่อครั้งบริการ ตามลำดับ (ณ ราคามาตรฐานปี 2554) อัตราส่วนค่าบริการที่เรียกเก็บต่อต้นทุนเท่ากับ 1.61, 1.40 และ 1.52 ตามลำดับ การใช้ทรัพยากร ปี 2556 มีประสิทธิภาพการบริการทันตกรรมสูงที่สุดเพราะต้นทุนต่อหน่วยต่ำที่สุด แต่ความสามารถด้านรายรับ ปี 2554 มีประสิทธิภาพสูงที่สุดเพราะอัตราส่วนค่าบริการที่เรียกเก็บต่อต้นทุนมีค่าสูงที่สุดen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent167595 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleประสิทธิภาพของคลินิกทันตกรรมนอกเวลาราชการโรงพยาบาลท่าวุ้งen_US
dc.title.alternativeEfficiency of extra-working time dental clinic of Thawung Hospitalen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis descriptive study aims to analyze the efficiency of the Thawung Hospital’s extra-working time dental clinic. Efficiency indices used in this study were the operating unit costs and the charge cost ratios. Three database sets for service and charge, material and medical supplies, and dental health information from 1st October 2010 - 30th September 2013 were used. The results showed that at the 2011-price base, unit costs of dental service in budget year 2011, 2012 and 2013 were 656, 552 and 498 Baht per visit, respectively, while the charge-cost ratios were 1.61, 1.40, and 1.52, respectively. The most efficient year of dental services with regard to resources used was 2013 due to its lowest unit cost. The most efficient year with regard to the earning capacity was 2011due to the highest charge-cost ratio.en_US
dc.subject.keywordคลินิกทันตกรรมen_US
dc.subject.keywordคลินิกนอกเวลาen_US
dc.subject.keywordextra-hours dental clinicen_US
dc.subject.keywordต้นทุนดำเนินการen_US
dc.subject.keywordcharge-cost ratioen_US
.custom.citationวราภรณ์ อินทร์พงษ์พันธุ์, Waraporn Inpongpan, เพ็ญแข ลาภยิ่ง and Phenkhae Lapying. "ประสิทธิภาพของคลินิกทันตกรรมนอกเวลาราชการโรงพยาบาลท่าวุ้ง." 2557. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4005">http://hdl.handle.net/11228/4005</a>.
.custom.total_download896
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month9
.custom.downloaded_this_year30
.custom.downloaded_fiscal_year49

Fulltext
Icon
Name: hsri_journal_v8n1 ...
Size: 163.6Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

Show simple item record