Factors Affecting Treatment Outcome of New Pulmonary Tuberculosis Patients in Pannanikhom District, Sakhon Nakhon Province
dc.contributor.author | พัฒนพงษ์ วงศ์กาฬสินธุ์ | en_US |
dc.contributor.author | Pattanapong Wongkalasin | en_US |
dc.coverage.spatial | สกลนคร | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-10-03T08:16:30Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:56:39Z | |
dc.date.available | 2008-10-03T08:16:30Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:56:39Z | |
dc.date.issued | 2550 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,3-4 (ต.ค.-ธ.ค. 2550), 2(ต.ค.-ธ.ค. 2550) : 439-446 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/406 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาหายผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวกรายใหม่ในอำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ที่ขึ้นทะเบียนรักษา ณ โรงพยาบาลพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร ในช่วงเดือนตุลาคม 2547 ถึง กันยายน 2549 โดยใช้แบบสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง 47 ราย แล้ววิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงวิเคราะห์ ค่าร้อยละ ไฆ-สแควร์ ฟิชเชอร์ เอกแซ็กท์ และความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยนำที่มีความสัมพันธ์กับผลการรักษาหาย ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส ความเพียงพอของรายได้และระดับการศึกษา ด้านปัจจัยเสริมที่สัมพันธ์กับผลการรักษาหาย ได้แก่ การเคยสูบบุหรี่ สูบบุหรี่ระหว่างรักษา การเคยดื่มสุรา ดื่มสุราระหว่างรักษา การได้รับคำแนะนำจากญาติหรือพี่เลี้ยง การกินยามีผู้กำกับเป็นญาติหรือพี่เลี้ยง การจัดซองยารายวันจากญาติหรือพี่เลี้ยงการตรวจเช็คการกินยา การแพ้ยา การได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขด้านการกินยา การรักษาแบบ DOTS การเยี่ยมบ้านผู้ป่วย การจัดซองยารายวันให้ไปกิน การให้สุขศึกษาและกระตุ้นเก็บเสมหะมาตรวจตามนัดหลังการรักษา 2, 5 และ 6 เดือน ด้านปัจจัยสนับสนุนที่มีความสัมพันธ์กับผลการรักษาหาย ได้แก่ ระยะทางในการเดินทางไปรับบริการ และความสะดวกในการเดินทางไปรับบริการ | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ปัจจัยต่อผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอด อำเภอพรรณนานิคม จังหวัดสกลนคร | en_US |
dc.title.alternative | Factors Affecting Treatment Outcome of New Pulmonary Tuberculosis Patients in Pannanikhom District, Sakhon Nakhon Province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Factors affecting treatment outcome of new pulmonary tuberculosis patients in Pannanikhom District, Sakhon Nakhon Province. The study focuses on the relationship between predisposing factors, reinforcing factors and enabling factors in a cohort of new pulmonary tuberculosis patients registered at the tuberculosis clinic of Praarjanphun Arjaro Hospital in Pannanikhom District Sakhon Nakhon Province during the period October 2004 - September 2006. The data were collected using an interview form and analyzed by using retrospective study statistics, Chi - square, Fisher’s exact test and correlation coeffcients. The predisposing factors significantly associated with treatment outcome in new pulmonary tuberculosis patients were age, marital status, education and economic factors (p < 0.05). The reinforcing factors were no cigaratte smoking or drinking of alcohol while under the care of their doctor, during introduction and while reserve care from family, and observers. Consultants explained the DOTS strategy to the pulmonary tuberculosis patients, observers, Medical packing, checking and allergy drug (p < 0.05). The enabling factors were distance and convenience of transportation (p < 0.05). | en_EN |
dc.subject.keyword | วัณโรคปอด | en_US |
dc.subject.keyword | ผลการรักษา | en_US |
dc.subject.keyword | DOTS | en_US |
dc.subject.keyword | Pulmonary Tuberculosis | en_US |
dc.subject.keyword | Treatment Outcome | en_US |
.custom.citation | พัฒนพงษ์ วงศ์กาฬสินธุ์ and Pattanapong Wongkalasin. "ปัจจัยต่อผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอด อำเภอพรรณนานิคม จังหวัดสกลนคร." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/406">http://hdl.handle.net/11228/406</a>. | |
.custom.total_download | 2285 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 28 | |
.custom.downloaded_this_year | 630 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 76 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ