แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

วิทยาการระบาดโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านห้วยไร่ ตำบลแม่ไร่ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2550

dc.contributor.authorสุรชัย ปิยวรวงศ์en_US
dc.contributor.authorSurachai Piyaworawongen_US
dc.contributor.authorเพ็ญศรี วงษ์พุฒen_US
dc.contributor.authorPensri Wongputhen_US
dc.coverage.spatialเชียงรายen_US
dc.date.accessioned2008-10-03T08:18:39Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:59Z
dc.date.available2008-10-03T08:18:39Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:59Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,3-4 (ต.ค.-ธ.ค. 2550), 2(ต.ค.-ธ.ค. 2550) : 464-473en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/409en_US
dc.description.abstractการศึกษาเชิงวิทยาการระบาดครั้งนี้เพื่อทราบลักษณะการเกิดโรคในผู้ป่วย การกระจายโรค แหล่งปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดโรค และค้นหาผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรคในชุมชนเพื่อให้การรักษาลดการแพร่กระจายของโรค เพื่อหาแนวทางในการควบคุมและป้องกันโรคไม่ให้แพร่กระจายต่อไป การศึกษาทำในหมู่บ้านห้วยไร่-ซาเจ๊ะ ตำบลแม่ไร่ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ในช่วงวันที่ 21 พฤษภาคม ถึงวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2550- เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS version 12 for window คำนวณหาจำนวน ค่าร้อยละ อัตราส่วน ค่าเฉลี่ย ครอส-แทบ และไฆ-สแควร์ ผู้ป่วยทั้งสิ้น 568 ราย จำแนกเป็นผู้ป่วยเข้าข่าย 525 ราย และผู้ป่วยยืนยัน 63 ราย อัตราป่วย 492.33 ต่อประชากรแสนคน และอัตราป่วยตายร้อยละ 0.17 มีผู้ป่วยหลังจากรายแรกกระจายทั้งหมู่บ้าน 534 ราย ที่เหลือกระจายในตำบลอื่น อายุผู้ป่วยเฉลี่ย 24.88 ปี (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน =16.82) กระจายในทุกกลุ่มอายุ อายุต่ำสุด 1 เดือนสูงสุด 84 ปี อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 1 : 1.24 อาการไข้ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูกและข้อต่อ มีจุดเลือดที่ผิวหนังและผลการทดสอบผลรัดแขน ไม่แตกต่างกันในผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม ปัจจัยการตรวจพบผื่นตามลำตัว จำนวนเม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือดในกลุ่มผู้ป่วยไข้เลือดออกมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ค่าพี < 0.005 สาเหตุที่จำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นและกระจายอยู่ในทั้งหมู่บ้าน ได้แก่ การควบคุมแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในรัศมี 100 เมตร ไม่เพียงพอสำหรับการกำจัดยุงตัวแก่ พบภาชนะบรรจุน้ำภายในบ้านและบริเวณรอบบ้านของชุมชนที่ไม่มีฝาปิด ลักษณะพื้นที่เป็นชุมชนแออัด และที่ราบเชิงเขามีแหล่งรังโรคหลากชนิด ประกอบกับปีนี้ฝนมาเร็วเท่ากับเพิ่มแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ประชาชนเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องไข้เลือดออก มีความเชื่อด้านสุขภาพในเรื่องการแพทย์จากประสบการณ์ที่สั่งสมตั้แต่รุ่นบรรพบุรุษ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่มีสิทธิ์ใดๆ ในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีการเคลื่อนย้ายของกลุ่มบุคคลเข้าออกในชุมชน การสร้างความมีส่วนร่วมในการจัดระบบบริการด้านสุขภาพระหว่างชุมชนท้องถิ่น รวมถึงการมีดุลยภาพในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพของกลุ่มชาติพันธ์ เป็นเครื่องมือในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในระดับชุมชนth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleวิทยาการระบาดโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านห้วยไร่ ตำบลแม่ไร่ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2550en_US
dc.title.alternativeEpidemiology of Dengue Hemorrhagic Fever in Huai rai-Sajae Village, Mae Chan District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis descriptive study was conducted in Huai Rai-Sajae Village of Mae Chan district, Chiang Rai Province in the period from May 20, 2007 to July 20, 2007 to determine the characteristic of the dengue hemorrhagic disease in order to understand the distribution of the disease and independent factors for outbreaks, and to identify patients in the community for treatment and prevention the epidemic. The data were analyzed by using the SPSS version 12 software package for Windows to calculate the percentage, ratio, means, cross-tabulations and chi-square. The first case of dengue hemorrhagic fever emerged on May 21, 2007. The outbreak became progressively worse, reaching a total number of 568 cases, among whom the diagnosis of 63 cases was confirmed by serology and 525 cases remained probable cases according to clinical criteria. The prevalence Rate of the disease in Mae Chan district was 492.33 cases per 100,000 population; the mortality rate was 0.17 percent. Most patients (534 cases) lived in Huai Rai-Sajae Village; the remainder lived in other villages in Mae chan district. The mean age was 24.88 years (SD= 16.82). Patients represented all age groups, the youngest being 1 month old and the oldest 84 years old; the male to female ratio was 1:1.24. The frequency of clinical signs and symptoms of the patients were fever, 99.31 percent; headache, 80.1 percent; myalgia, 63.27 percent; positive tourniquet test, 62.18 percent; and maculopapular rash, 43.5 percent. Impending shock and dengue shock syndrome were seen in 12.41 percent of the cases. The causes of the dengue epidemic in this village were inadequate control of mosquito larvae in the community, poor sanitation and environment, lack of knowledge, and a poor health-care system. In recent years, public health authorities have emphasized disease prevention and mosquito control through community efforts to reduce larval breeding sources. Although this approach will probably be effective in the long run, it is unlikely to have a beneficial impact on disease transmission in the near future. We must, therefore, develop improved, proactive, laboratory-based surveillance systems that can provide early warning of an impending dengue epidemic. At the very least, surveillance results can alert the public to take action and physicians to diagnose and properly treat of cases.en_EN
dc.subject.keywordวิทยาการระบาดen_US
dc.subject.keywordไข้เลือดออกen_US
dc.subject.keywordการควบคุมโรคen_US
dc.subject.keywordEpidemiologyen_US
dc.subject.keywordEpidemicen_US
dc.subject.keywordOutbreaken_US
dc.subject.keywordDengue Hemorrhagic Feveren_US
.custom.citationสุรชัย ปิยวรวงศ์, Surachai Piyaworawong, เพ็ญศรี วงษ์พุฒ and Pensri Wongputh. "วิทยาการระบาดโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านห้วยไร่ ตำบลแม่ไร่ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2550." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/409">http://hdl.handle.net/11228/409</a>.
.custom.total_download2564
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month48
.custom.downloaded_this_year819
.custom.downloaded_fiscal_year144

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v1n3 ...
ขนาด: 205.9Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย