แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ต้นทุนโรคหืดของโรงพยาบาลพรานกระต่าย

dc.contributor.authorบัลลังก์ อุปพงษ์en_US
dc.contributor.authorBallang Uppapongen_US
dc.coverage.spatialกำแพงเพชรen_US
dc.date.accessioned2008-10-03T08:19:12Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:56:00Z
dc.date.available2008-10-03T08:19:12Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:56:00Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,3-4 (ต.ค.-ธ.ค. 2550), 2(ต.ค.-ธ.ค. 2550) : 481-488en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/411en_US
dc.description.abstractโรคหืดถูกจัดอยู่ในกลุ่มภาวะไวการรักษาแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory care sensitive condition; ACSC) คือหากมีการดูแลรักษาแบบผู้ป่วยนอกอย่างมีประสิทธิภาพจะสามารถหลีกเลี่ยงการเข้ารับรักษาตัวในโรงพยาบาลได้ การที่ผู้ป่วยโรคหืดต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ทำให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษามาก ดังนั้นการดำเนินการ เช่น การจัดตั้งคลินิกโรคหืด การดูแลรักษาผู้ป่วยตามเนวทางปฏิบัติ รวมทั้งการเพิ่มบทบาทของทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วย น่าจะช่วยลดอัตราการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ส่งผลให้ช่วยลดค่าใช้จ่าย และทำให้ผู้ป่วยมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตดีขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนของการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหืดทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน เพื่อใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการบริหารจัดการโรคหืดในโรงพยาบาล การศึกษานี้เป็นแบบเชิงพรรณนาย้อนหลัง อิงสถิติความชุกของโรค คำนวณต้นทุนแบบขึ้นจากล่างสู่บนในมุมมองผู้ให้บริการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ป่วยโรคหืด (รหัส ICD-10: J45 และ J46) ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน 350 ราย จากฐานข้อมูลอิเลกทรอนิกในปีงบประมาณ 2549 ของโรงพยาบาลพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพซร ซึ่งเป็นโรงพยาบาลชุมชน 60 เตียง จากการศึกษาพบว่าต้นทุนโรคหืดประกอบด้วยค่าบริการพ่นยาขยายหลอดลม ร้อยละ 28.85 ค่ายา ร้อยละ 26.28 ค่าบริการผู้ป่วยใน ร้อยละ 25.76 ค่าตรวจผู้ป่วยนอก ร้อยละ 14.64 การให้ออกซิเจน ร้อยละ 2.97 และค่าภาพรังสี ร้อยละ 1.50 ต้นทุนโดยรวมเท่ากับ 1,424.19 บาท/คน/ปี ต้นทุนผู้ป่วยนอกเท่ากับ 742 บาท/คน/ปี และต้นทุนผู้ป่วยในเท่ากับ 3,580 บาท/คน/ปี ผู้ป่วยโรคหืด ร้อยละ 20 ต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลมีค่ารักษาพยาบาลประมาณ ร้อยละ 50 ของต้นทุนโรคหืดทั้งหมดth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleต้นทุนโรคหืดของโรงพยาบาลพรานกระต่ายen_US
dc.title.alternativeCost of Asthma Care at Prankratai Hospitalen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeAsthma is an ambulatory care-sensitive condition (ACSC). With effective ambulatory care, this condition need not necessitate hospital admission. Avoiding disease exacerbation and hospital admission of asthma sufferers can save health-care costs and improve the quality of life of those affected. This study was aimed at determining the cost of asthma treatment, either outpatient or inpatient, in order to obtain basic information for asthma administration in the hospital. This was a retrospective and descriptive study using a prevalence-based approach. The cost was calculated by a bottom-up method from a provider’s perspective. Those eligible to participate in the study were either outpatient or inpatient asthmatics at Prankratai Hospital, a 60-bed community hospital. Occurrences of asthma were identified using the International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems, 10th Revision (ICD-10) codes J45 and J46. The data were collected from an electronic database. The cost of treating asthma consisted of nebulization (28.85%), medication (26.28%), hospitalization (25.76%), outpatient visit (14.64%), oxygen therapy (2.97%), and x-ray (1.50%). The average cost was 1,424.19 baht per patient per year. The average cost of outpatient and inpatient treatment was 742 and 3,580 baht per patient per year, respectively. During the study period, one-fifth of the asthmatic patients were admitted, but accounted for about half of the total cost of all treatment. Hospitalization comprised a considerable cost for treating asthma. To improve asthma management and control, hospital administrators should establish simple asthma clinics, develop guidelines, and encourage greater participation in asthma care by a broader range of health-care professionals and not just doctors. Such initiatives are predictably likely to decrease admission rates and the burden on health-care costs.en_EN
dc.subject.keywordโรคหืดen_US
dc.subject.keywordต้นทุนการเจ็บป่วยen_US
dc.subject.keywordภาวะไวการรักษาแบบผู้ป่วยนอกen_US
dc.subject.keywordAsthmaen_US
dc.subject.keywordCost of Illnessen_US
dc.subject.keywordAmbulatory Careen_US
dc.subject.keywordConditionen_US
dc.subject.keywordACSCen_US
.custom.citationบัลลังก์ อุปพงษ์ and Ballang Uppapong. "ต้นทุนโรคหืดของโรงพยาบาลพรานกระต่าย." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/411">http://hdl.handle.net/11228/411</a>.
.custom.total_download809
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month12
.custom.downloaded_this_year167
.custom.downloaded_fiscal_year24

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v1n3 ...
ขนาด: 182.4Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย