Show simple item record

An Outbreak of Measles in Umphang District, Tak Province, 2004 – 2005

dc.contributor.authorวรวิทย์ ตันติวัฒนทรัพย์en_US
dc.contributor.authorWorawit Tantiwattanasapen_US
dc.contributor.authorสุพาภรณ์ สุยะสืบen_US
dc.contributor.authorSupaporn Suyasurpen_US
dc.contributor.authorอนุพงษ์ อนุเมธางกูรen_US
dc.contributor.authorAnupong Anumathangkoonen_US
dc.coverage.spatialตากen_US
dc.date.accessioned2008-10-03T08:21:22Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:56:04Z
dc.date.available2008-10-03T08:21:22Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:56:04Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,3-4 (ต.ค.-ธ.ค. 2550) (ฉบับเสริม 2) : 516-522en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/415en_US
dc.description.abstractคณะผู้รายงานดำเนินการศึกษาการระบาดของโรคหัดในอำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก ซึ่งเป็นผลจากความครอบคลุมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัดในเด็กกลุ่มเป้าหมายอยู่ในเกณฑ์ต่ำ โดยรวบรวมรายงานผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหัดในช่วงเดือนมกราคม 2547 ถึงเมษายน 2548 และข้อมูลการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัดในเด็กอายุ 9 เดือนขึ้นไป ที่เกิดในช่วงเดือนมกราคม 2544 - ธันวาคม 2546 และข้อมูลการให้บริการฉีดซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน ในเด็กนักเรียนปีการศึกษา 2545 – 2547 ของโรงพยาบาลอุ้มผาง และสถานีอนามัย 4 แห่ง สุ่มเลือกจากทั้งหมด 7 แห่ง เพื่อตรวจสอบความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดในเด็กกลุ่มเป้าหมาย การศึกษาพบว่าในช่วงเดือนมกราคม 2547 ถึงเมษายน 2548 มีผู้ป่วยโรคหัด 187 ราย เป็นชาวไทย 159 ราย (ร้อยละ 85) และชาวพม่า 28 ราย (ร้อยละ 15) ผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย จากภาวะปอดอักเสบแทรกซ้อน คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.5 ผู้ป่วยร้อยละ 89.8 เป็นเด็กอายุ 0-14 ปี พบทั้งเด็กเล็กและเด็กโต และร้อยละ 10.2 เป็นผู้ใหญ่อายุ 15 ปีขึ้นไป พบผู้ป่วยในทุกตำบลของอำเภออุ้มผาง พบประปรายในเดือนมกราคม - เมษายน 2547 และเริ่มมากขึ้นตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2547 เป็นต้นไป ลักษณะเวชกรรมที่พบบ่อย ได้แก่ ไข้ ร้อยละ 100 ขึ้นผื่น ร้อยละ 100 ไอร้อยละ 80.2 และน้ำมูกไหลร้อยละ 67.9 ส่วนภาวะแทรกซ้อนที่พบในผู้ป่วย ได้แก่ ปอดอักเสบร้อยละ 17.6 อุจจาระร่วงร้อยละ 10.7 และหูอักเสบร้อยละ 5.9 ผู้ป่วยชาวไทยร้อยละ 61.6 ให้ประวัติว่าไม่เคยได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดมาก่อน ที่เหลือว่าไม่แน่ใจซึ่งไม่สามารถตรวจสอบการได้รับวัดซีนได้ ผู้ป่วย 106 ราย ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการด้วยวิธี ELISA measles -specific IgM พบผลบวกร้อยละ 80.2 จากการศึกษาพบว่าความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดในเด็กกลุ่มเป้าหมายอยู่ในเกณฑ์ต่ำในหลายพื้นที่ การระบาดของโรคได้สิ้นสุดลงในเดือนเมษายน 2548 ภายหลังการควบคุมป้องกันโรค และเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดในเด็กกลุ่มเป้าหมายเป็นสิ่งจำเป็น ซึ่งช่วยลดอัตราป่วยและเสียชีวิตจากโรคหัดและภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ เนื่องจากหลายพื้นที่ในอำเภออุ้มผาง เป็นพื้นที่ที่อยู่ห่างไกล การคมนาคมไม่สะดวก ดังนั้นการจัดบริการสาธารณสุขเชิงรุกในชุมชนในช่วงฤดูแล้ง เช่น การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค น่าจะมีประ โยชน์และเหมาะสมth_TH
dc.format.extent183919 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการระบาดของโรคหัดในอำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก 2547-2548en_US
dc.title.alternativeAn Outbreak of Measles in Umphang District, Tak Province, 2004 – 2005en_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis report describes an investigation of a measles outbreak in Umphang District, Tak Province, in the period 2004-2005 and emphasizes the importance of coverage of measles immunization in children. Medical records of measles cases diagnosed between January 2004 and April 2005 in the district were reviewed. Data on measles immunization in children 9 months of age or older and measles-mumps-rubella immunization in school children were retrieved from Umphang Community Hospital and 4 out of the 7 health centers to determine the coverage. Over the outbreak period, among the 187 measles cases, about 85 percent were Thai and 15 percent were cases among citizens of Myanmar. One case died from pneumonia, producing a fatality rate of 0.5 percent. Of the 187 cases, 89.8 percent were children 0 - 14 years old and 10.2 percent were 15 years of age or older. Measles cases were reported from all subdistricts in Umphang District. Sporadic cases were reported from January to April 2003 and the cases increased thereafter. Clinical manifestations included fever (100%), rash (100%), cough (80.2%), and rhinorrhea (67.9%). Measles complications in these cases were pneumonia (17.6%), diarrhea (10.7%), and otitis (5.9%). About 61.6 percent of the Thai cases had not received measles immunization and the remainder could not be determined. Of the 106 measles cases examined for measles-specific IgM by ELISA, 80.2 percent were positive. The coverage of measles immunization in both > 9-month and school children was low in some areas of the district. The outbreak tapered off after providing preventive and control measures. The authors suggest that full coverage of measles immunization among the target children is essential. For remote areas in the district where people face difficulty in traveling and limited outreach of health services, the provision of an immunization program in dry season may be useful.en_EN
dc.subject.keywordโรคหัดen_US
dc.subject.keywordการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคen_US
dc.subject.keywordMeaslesen_US
dc.subject.keywordVaccine-Preventable Diseaseen_US
dc.subject.keywordImmunizationen_US
.custom.citationวรวิทย์ ตันติวัฒนทรัพย์, Worawit Tantiwattanasap, สุพาภรณ์ สุยะสืบ, Supaporn Suyasurp, อนุพงษ์ อนุเมธางกูร and Anupong Anumathangkoon. "การระบาดของโรคหัดในอำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก 2547-2548." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/415">http://hdl.handle.net/11228/415</a>.
.custom.total_download1173
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month18
.custom.downloaded_this_year216
.custom.downloaded_fiscal_year31

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v1n3 ...
Size: 183.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record