Evolution of Collaborations under the ”One Health” Concept in Thailand
dc.contributor.author | อังคณา สมนัสทวีชัย | th_TH |
dc.contributor.author | Angkana Sommanustweechai | en_US |
dc.contributor.author | วลัยพร พัชรนฤมล | th_TH |
dc.contributor.author | Walaiporn Patcharanarumol | en_US |
dc.contributor.author | โสภณ เอี่ยมศิริถาวร | th_TH |
dc.contributor.author | Sopon Iamsirithaworn | en_US |
dc.contributor.author | วันทนีย์ กัลล์ประวิทธ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Wantanee Kalpravidh | en_US |
dc.contributor.author | ปานเทพ รัตนากร | th_TH |
dc.contributor.author | Parntep Ratanakorn | en_US |
dc.contributor.author | วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร | th_TH |
dc.contributor.author | Viroj Tangcharoensathien | en_US |
dc.date.accessioned | 2014-11-04T03:12:44Z | |
dc.date.available | 2014-11-04T03:12:44Z | |
dc.date.issued | 2557-09 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 8,3 (ก.ค.-ก.ย. 2557) : 292-305 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4218 | |
dc.description.abstract | แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health) เป็นแนวคิดที่มีเป้าหมายสำคัญในการเสริมสร้างการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างสหสาขาวิชาของทุกภาคส่วนและทุกระดับเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีแบบองค์รวม โดยตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพคน สัตว์และสิ่งแวดล้อมที่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียวกัน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเรียบเรียงและทำความเข้าใจถึงวิวัฒนาการของแนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” ในประเทศไทยโดยวิธีการทบทวนเอกสาร การสังเกตและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษาพบว่าประเทศไทยมีความร่วมมือในการป้องกันและควบคุมโรคระหว่างสาธารณสุขและปศุสัตว์มาอย่างยาวนาน ซึ่งเป็นรากฐานในการขยายความร่วมมือระหว่างสหสาขาวิชาในการรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดนกในปีพ.ศ.2547-2549 จนกระทั่งมีการรับเอาแนวคิด “One Health” และบัญญัติคำในภาษาไทยว่า “สุขภาพหนึ่งเดียว” ซึ่งบรรจุเข้าสู่แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกันและแก้ปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ(พ.ศ.2556-2559)ในปีพ.ศ.2555 อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันการรับรู้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” ยังจำกัดอยู่ในเฉพาะหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการป้องกันควบคุมโรค อีกทั้งผู้ที่รับรู้ยังมีความเข้าใจความหมายและขอบเขตของแนวคิดที่แตกต่างกัน รวมทั้งยังขาดตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม ผลการศึกษานี้นำไปสู่ข้อเสนอแนะให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทำการปรับปรุงและกำหนดกลยุทธ์ในการถ่ายทอดแนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” ที่ถูกต้องให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์และแปรแนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและเกิดประโยชน์สูงสุดอย่างยั่งยืน | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การป้องกันและควบคุมโรค | th_TH |
dc.subject | emerging infectious disease | en_US |
dc.subject | โรคติดต่ออุบัติใหม่ | th_TH |
dc.title | วิวัฒนาการของความร่วมมือภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียวในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Evolution of Collaborations under the ”One Health” Concept in Thailand | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | In Thailand, the “One Health” concept emerged with the goal of strengthening the multidisciplinary collaborations among all sectors at all levels, subsequently leading to a holistic health by recognizing the close relationships between human health, animal health and environment health. This study aimed to compile and understand the evolution of “One Health” in Thailand. The methods included document review, observation, and in-depth interviews of key informants. The study found that the public health and livestock health sectors have been cooperated for over 20 years in order to prevent and to control zoonotic diseases. It was later expanded to be a multidisciplinary collaboration to contain the H5N1 Avian Influenza outbreak in 2004-2006. The “One Health” concept has been adopted as a key component of national health policy, in particular in the National Strategic Plan for Emerging Infectious Diseases (2013- 2016) in 2012. However, the current recognition of “One Health” is still mainly limited to health related sectors, with variation in interpretations of the definitions and scope of “One Health” which is based on organization and/or individual own interest, and lack of a variety of examples for implementation. This study recommends that “One Health” concept should be promoted to other related non-health sectors including the general public in order to gain mutual understanding of the concept. In addition, the One Health concept should be implemented where different agencies work together to achieve its objectives in a sustainable way. | en_US |
dc.subject.keyword | สุขภาพหนึ่งเดียว | th_TH |
dc.subject.keyword | one health | en_US |
dc.subject.keyword | โรคติดต่อระหว่างคนและสัตว์ | th_TH |
dc.subject.keyword | Zoonosis | en_US |
.custom.citation | อังคณา สมนัสทวีชัย, Angkana Sommanustweechai, วลัยพร พัชรนฤมล, Walaiporn Patcharanarumol, โสภณ เอี่ยมศิริถาวร, Sopon Iamsirithaworn, วันทนีย์ กัลล์ประวิทธ์, Wantanee Kalpravidh, ปานเทพ รัตนากร, Parntep Ratanakorn, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร and Viroj Tangcharoensathien. "วิวัฒนาการของความร่วมมือภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียวในประเทศไทย." 2557. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4218">http://hdl.handle.net/11228/4218</a>. | |
.custom.total_download | 2861 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 15 | |
.custom.downloaded_this_year | 350 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 52 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ