dc.contributor.author | ขวัญชนก ยิ้มแต้ | th_TH |
dc.contributor.author | พนิดา ธนาวิรัตนานิจ | th_TH |
dc.contributor.author | พรเทพ เกษมศิริ | th_TH |
dc.contributor.author | พศิน อิศรเสนา ณ อยุธยา | th_TH |
dc.contributor.author | อนุกูล น้อยไม้ | th_TH |
dc.contributor.author | พิภพ สิริเพาประดิษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ภัทรวุฒิ วัฒนศัพท์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุภวรรณ เลาหศิริวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ปฤษฐพร กิ่งแก้ว | th_TH |
dc.date.accessioned | 2014-12-24T08:51:26Z | |
dc.date.available | 2014-12-24T08:51:26Z | |
dc.date.issued | 2557-09 | |
dc.identifier.other | hs2141 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4230 | |
dc.description.abstract | ความพิการทางการได้ยินเป็นความพิการที่พบบ่อยและถูกละเลยได้ง่าย เนื่องจากเป็นความพิการที่ซ่อนเร้นมองไม่เห็นจากภายนอก แม้ว่าผู้พิการทางการได้ยินจะมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลและได้รับเครื่องช่วยฟังฟรีจากนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า แต่พบว่าผู้พิการทางการได้ยินส่วนใหญ่ไม่สามารถเข้าถึงบริการตามสิทธิได้ เนื่องจากนักแก้ไขการได้ยินมีจำนวนน้อย การประเมินและลองใส่เครื่องช่วยฟังสำหรับผู้ป่วยแต่ละรายใช้เวลานาน ผู้ป่วยที่มีระดับการได้ยินเท่ากัน ก็มีการตอบสนองต่อการฟังเสียงจากเครื่องช่วยฟังชนิดและรุ่นเดียวกันได้ไม่เหมือนกัน ทำให้ระบบบริหารจัดซื้อจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยฟังค่อนข้างยุ่งยาก ระบบติดตามการใช้เครื่องช่วยฟังยังไม่มีประสิทธิภาพ เครื่องช่วยฟังส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ ถ่านที่ใช้กับเครื่องช่วยฟังเป็นชนิดพิเศษ หาซื้อยากและมีราคาแพง การพัฒนาเครื่องช่วยฟังที่ได้มาตรฐาน ราคาถูก สามารถผลิตขึ้นเองได้ภายในประเทศ และมีค่าบำรุงรักษาต่ำ จะช่วยลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติได้พัฒนาเครื่องช่วยฟังระบบดิจิตอลแบบกล่องจากรุ่นแรกที่ได้รับการทดสอบมาเป็นรุ่นที่สอง ซึ่งใช้เป็นต้นแบบสำหรับการผลิตเชิงพาณิชย์ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทดสอบประสิทธิผลและประสิทธิภาพของเครื่องช่วยฟัง P02 เปรียบเทียบกับเครื่องช่วยฟังที่มีจำหน่ายในประเทศ ความพึงพอใช้ของผู้ใช้เครื่องช่วยฟัง P02 ในการใช้งานในชีวิตประจำวันรวมถึงการทดสอบความทนทานต่อการใช้งาน อัตราการใช้งานอย่างสม่ำเสมอ ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้งานอย่างสม่ำเสมอคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการใช้เครื่องช่วยฟัง ประกอบกับระบบการประเมินและติดตามการเบิกจ่ายเครื่องช่วยฟังยังมีประสิทธิภาพไม่ดีนัก ผู้พิการทางการได้ยินเมื่อเริ่มใส่เครื่องช่วยฟังมักจะมีปัญหาในการปรับตัวกับเสียงที่ได้ยินจากเครื่องช่วยฟัง อาจทำให้มีการใช้การอย่างไม่ต่อเนื่องหรือแม้กระทั่งไม่ใช้เลย ซึ่งเป็นการสูญเสียทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดไปอย่างไม่จำเป็น จึงได้มีความพยายามในการพัฒนาระบบการประเมินและติดตามการใช้เครื่องช่วยฟังเพื่อให้เกิดการใช้งานอย่างต่อเนื่อง และผู้ให้บริการสามารถให้คำแนะนำการใช้งานของเครื่องช่วยฟังที่เหมาะสมกับผู้ใช้ได้ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องมีการศึกษาถึงต้นทุนการบริการและการใช้ทรัพยากรในการจัดบริการระบบการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพสำหรับผู้พิการทางการได้ยินในชุมชนเพื่อให้เกิดข้อมูลด้านภาระงบประมาณและข้อมูลด้านความต้องการของบุคลากร ประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายหากต้องการให้มีระบบบริการนี้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | เครื่องช่วยการได้ยิน | th_TH |
dc.subject | การได้ยินผิดปกติ | th_TH |
dc.subject | การได้ยิน | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | ประสิทธิผลของเครื่องช่วยฟังระบบดิจิตอลแบบกล่องที่พัฒนาต้นแบบโดยเนคเทค และต้นทุนของการคัดกรองการได้ยินและบริการเครื่องช่วยฟังในผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.title.alternative | Effectiveness of NECTEC Model, Body-worn, Digital Hearing Aids and Cost of Screening and Hearing Aids Service in Elders | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.identifier.callno | HV2391 ข261ป 2557 | |
dc.identifier.contactno | 55-052 | en_US |
dc.subject.keyword | เครื่องช่วยฟัง | th_TH |
dc.subject.keyword | Hearing aids | en_US |
.custom.citation | ขวัญชนก ยิ้มแต้, พนิดา ธนาวิรัตนานิจ, พรเทพ เกษมศิริ, พศิน อิศรเสนา ณ อยุธยา, อนุกูล น้อยไม้, พิภพ สิริเพาประดิษฐ์, ภัทรวุฒิ วัฒนศัพท์, สุภวรรณ เลาหศิริวงศ์ and ปฤษฐพร กิ่งแก้ว. "ประสิทธิผลของเครื่องช่วยฟังระบบดิจิตอลแบบกล่องที่พัฒนาต้นแบบโดยเนคเทค และต้นทุนของการคัดกรองการได้ยินและบริการเครื่องช่วยฟังในผู้สูงอายุ." 2557. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4230">http://hdl.handle.net/11228/4230</a>. | |
.custom.total_download | 166 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 10 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 3 | |