แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ของโรงพยาบาลรัฐ เขตสุขภาพที่ 3

dc.contributor.authorณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์th_TH
dc.contributor.authorสุเทพ สินกิตติยานนท์th_TH
dc.contributor.authorนฤมล ปาเฉยth_TH
dc.contributor.authorอรพรรณ มันตะรักษ์th_TH
dc.contributor.authorชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์th_TH
dc.date.accessioned2015-07-24T03:08:07Z
dc.date.available2015-07-24T03:08:07Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.otherhs2166
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4280
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินของโรงพยาบาลรัฐ เขตสุขภาพที่ 3 เป็นข้อค้นพบที่สำคัญในระดับปฏิบัติการ เพื่อสะท้อนการพัฒนา EMS สู่การเปลี่ยนแปลงทั้งใน ระดับนโยบายและการขับเคลื่อนลงไปยังโรงพยาบาลในทุกระดับ ข้อเสนอเชิงนโยบายในภาพรวม 1. นโยบายการแพทย์ฉุกเฉินในระดับประเทศที่มีหน่วยงาน สพฉ.และสธฉ. เป็นผู้กำหนดทิศทางและนโยบาย ควรทำความเข้าใจกับหน่วยบริการสาธารณสุขในระดับผู้ปฏิบัติให้ชัดเจน เพื่อการปฏิบัติงานจะได้เป็นไปในทิศทางและแนวทางเดียวกันทั้งประเทศ 2. กระทรวงสาธารณสุข และสพฉ.ควรวางแผนงบประมาณ ระยะยาว5-10 ปี สำหรับการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ให้ครอบคลุมโรงพยาบาลทุกระดับตั้งแต่ A,S,M,F 3. ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ควรให้ความสำคัญกับระบบการแพทย์และฉุกเฉิน ทั้งใน Pre-Hospital Care และHospital Case ในด้านการจัดสรรงบประมาณจากรัฐ และการประสานงบประมาณ จาก อปท. เพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินให้เกิดความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ 4. กลไกนโยบายด้านระบบบริการและการรักษาพยาบาล กรมการแพทย์ ควรเข้ามามีบทบาทร่วมกับสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน (สพฉ.) พัฒนาความรู้เชิงวิชาการให้สอดคล้องกับ Service Plan และการประเมินผลด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาลอย่างเป็นระบบ 5. บุคลากรหลายสาขาที่มีบทบาทเฉพาะต่อการแพทย์ฉุกเฉิน เช่น แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน, เวชกิจฉุกเฉิน, พยาบาลวิชาชีพ ควรมีการส่งเสริมในการพัฒนาต่อยอดความรู้และทักษะ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงพยาบาลที่มีแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินประจำกับโรงพยาบาลที่ยังไม่มีแพทย์ประจำทั้งภายในจังหวัดและภายในเขต 6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ อปท. เข้ามามีส่วนร่วม มีบทบาทและหน้าที่ในการดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉิน ตั้งแต่กระบวนการการวางแผนยุทธศาสตร์ ร่วมกับจังหวัด และโรงพยาบาลในพื้นที่ เช่น แผนงบประมาณ, แผนฝึกอบรมในภาพอำเภอหรือจังหวัด, การสนับสนุน รถกู้ชีพ, รถยกและเครื่องตัดถ่างth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ของโรงพยาบาลรัฐ เขตสุขภาพที่ 3th_TH
dc.title.alternativeEffects Management of Emergency Medical System of State Hospital in Regional Health 3en_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoWX215 ณ321ป 2558
dc.identifier.contactno57-072en_US
.custom.citationณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์, สุเทพ สินกิตติยานนท์, นฤมล ปาเฉย, อรพรรณ มันตะรักษ์ and ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์. "ประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ของโรงพยาบาลรัฐ เขตสุขภาพที่ 3." 2558. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4280">http://hdl.handle.net/11228/4280</a>.
.custom.total_download187
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year7
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2166.pdf
ขนาด: 3.656Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย