dc.contributor.author | วันทนีย์ กุลเพ็ง | th_TH |
dc.contributor.author | Wantanee Kulpeng | en_US |
dc.contributor.author | ปฤษฐพร กิ่งแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | Pritaporn Kingkaew | en_US |
dc.contributor.author | สาริณี แก้วสว่าง | th_TH |
dc.contributor.author | Sarinee Keawsawang | en_US |
dc.contributor.author | ศรีเพ็ญ ตันติเวสส | th_TH |
dc.contributor.author | Sripen Tantivess | en_US |
dc.contributor.author | ยศ ตีระวัฒนานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Yot Teerawattananon | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-12-21T06:48:32Z | |
dc.date.available | 2015-12-21T06:48:32Z | |
dc.date.issued | 2558-10 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 9,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2558) : 344-357 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4365 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ในรูปของคุณภาพชีวิตและความสามารถในการดำรงชีวิตจากการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์ฯ โดยทำการศึกษาเชิงการสังเกตในระหว่างมีนาคมถึงพฤษภาคม พ.ศ.2557 ในคนพิการทางการเคลื่อนไหวอายุระหว่าง 15-65 ปี ที่มีความจำเป็นต้องใช้รถเข็น/รถโยก/ขาเทียม ใน 10 จังหวัดในประเทศไทย โดยแบ่งเป็น 1) กลุ่มเข้าถึงอุปกรณ์ฯ หมายถึงผู้ที่ได้รับและใช้อุปกรณ์ฯอย่างต่อเนื่องและมีความพึงพอใจต่ออุปกรณ์ฯ และ 2) กลุ่มเข้าไม่ถึงอุปกรณ์ฯ ทำการวัดคุณภาพชีวิตด้วยเครื่องมือขององค์การอนามัยโลก WHOQOL-BREF และวัดความสามารถในการดำรงชีวิตด้วยข้อคำถามที่พัฒนาจากแนวคิดของ International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF) ผลการศึกษาในกลุ่มเข้าถึงอุปกรณ์ฯจำนวน 308 คน และกลุ่มเข้าไม่ถึงอุปกรณ์ฯจำนวน 295 คน พบว่า คนพิการที่เข้าถึงอุปกรณ์ฯมีคุณภาพชีวิตและความสามารถในการดำรงชีวิตดีกว่ากลุ่มคนพิการที่เข้าไม่ถึงอุปกรณ์ฯอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกด้าน ยกเว้นคุณภาพชีวิตในมิติของสิ่งแวดล้อมและความสามารถในการดำรงชีวิตในมิติของการศึกษาที่ไม่พบความแตกต่างกัน ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์ฯ ได้แก่ อายุ สิทธิประกันสุขภาพ การขึ้นทะเบียนคนพิการ อาชีพ และการดูแลจากครอบครัว ทั้งนี้ สามารถสรุปได้ว่า การเข้าถึงอุปกรณ์ฯมีความสำคัญต่อคนพิการทำให้มีคุณภาพชีวิตและความสามารถในการดำรงชีวิตที่ดี ส่วนปัจจัยด้านผู้ให้บริการที่ส่งผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์ฯ คือ สิทธิประกันสุขภาพและการขึ้นทะเบียนคนพิการ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | คนพิการ | th_TH |
dc.subject | People with Disabilities | en_US |
dc.subject | Disability | en_US |
dc.subject | การเข้าถึงบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | คนพิการทางการเคลื่อนไหว | th_TH |
dc.subject | International classification of functioning, disability and health | en_US |
dc.title | ผลลัพธ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการในคนพิการทางการเคลื่อนไหว | th_TH |
dc.title.alternative | Outcomes and Factors Influencing Access to Assistive Device for Mobility Disabled People | en_US |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to 1) investigate effects of assistive devices on quality of life (QOL) and functional
outcomes in disabled people, and 2) quantify factors affecting access to devices. From March to May 2014,
an observational study was carried out in mobility impaired individuals of ages 15 to 65 years old, who
need to use assistive devices i.e. wheelchair, handicap tricycle and prosthesis leg in 10 provinces throughout
Thailand. The sample was classified into two groups: 1) access group; and 2) without access group.
Individuals that have the assistive device, use it regularly and are satisfied with their device were classified
into the “access group” while those who did not meet the aforementioned criteria were classified into the “without access group“. World Health Organization Quality of Life (WHOQOL) - BREF was used to
elicit QOL while selected International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF) codes
were used to measure functional outcomes. This study included a total of 308 individuals in the “access
group“ and 295 individuals in the “without access group“. Compared to those who without access,
disabled people with access had significantly better QOL in all dimensions except for the environment
dimension. Additionally, the “access group“ showed a significantly higher level of functioning than the
“without access group” in all functions with exception to the education. Factors affecting access to assistive
devices were age, health scheme, registrations for disabled people, occupation, and care from family. In
conclusion, assistive devices enhance both QOL and function in disabled population; hence, increase
access to these technologies is crucial. Furthermore, health scheme and disabled registration are government-
side factors influencing access to assistive devices. | en_US |
dc.subject.keyword | อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ | th_TH |
.custom.citation | วันทนีย์ กุลเพ็ง, Wantanee Kulpeng, ปฤษฐพร กิ่งแก้ว, Pritaporn Kingkaew, สาริณี แก้วสว่าง, Sarinee Keawsawang, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส, Sripen Tantivess, ยศ ตีระวัฒนานนท์ and Yot Teerawattananon. "ผลลัพธ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการในคนพิการทางการเคลื่อนไหว." 2558. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4365">http://hdl.handle.net/11228/4365</a>. | |
.custom.total_download | 1082 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 3 | |
.custom.downloaded_this_year | 92 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 9 | |