แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการสนับสนุนการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

dc.contributor.authorวิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิชth_TH
dc.contributor.authorWimolrat Puwarawuttipanitth_TH
dc.contributor.authorจงกลวรรณ มุกสิกทองth_TH
dc.contributor.authorศรินรัตน์ ศรีประสงค์th_TH
dc.contributor.authorวารุณี พลิกบัวth_TH
dc.contributor.authorปิโยรส เกษตรกาลาม์th_TH
dc.contributor.authorสิริกาญจน์ หาญรบth_TH
dc.contributor.authorวิภารัตน์ ศรีสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorลินจง โปธิบาลth_TH
dc.contributor.authorจิราภรณ์ เตชะอุดมเดชth_TH
dc.contributor.authorสุนิภา ชินวุฒิth_TH
dc.contributor.authorธวัชชัย สัตยสมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorปทุมทิพย์ อดุลวัฒนศิริth_TH
dc.contributor.authorศรีสุดา เอกลัคนาth_TH
dc.date.accessioned2015-12-21T09:51:08Z
dc.date.available2015-12-21T09:51:08Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.otherhs2218
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4368
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบเพื่อศึกษา รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการสนับสนุนการจัดการตนเอง โดยคัดเลือกงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้รับการตีพิมพ์ ซึ่งเป็นรายงานวิจัยที่ทำในประเทศไทยและต่างประเทศตั้งแต่ พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2557 จากหลักฐานเชิงประจักษ์ พบว่าส่วนใหญ่วิจัยจะทำในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ปอดอุดกั้นเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง มะเร็ง ส่วนที่ทำน้อย ได้แก่โรคเมตาบอลิกซินโดรม และโรคหลอดเลือดเลือดสมอง แนวคิดการสนับสนุนการจัดการตนเอง และการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วย ได้รับการสนับสนุน ในประเทศที่พัฒนาแล้วหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ แคนาดา ประเทศไทยก็เริ่มสนใจตั้งแต่มีการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ จากการทบทวนวรรณกรรมพบงานวิจัยในเมืองไทยที่ทำเกี่ยวกับการจัดการและการสนับสนุนการจัดการตนเอง ส่วนใหญ่จะเป็นการศึกษาของนิสิตและนักศึกษา และอาจารย์ในมหาวิทยาลัยต่างๆ แต่ยังไม่พบว่ามีการนำการจัดการและการสนับสนุนการจัดการตนเองรวมทั้งรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังไปใช้ในระบบบริการการดูแลเพื่อพัฒนาคุณภาพอย่างจริงจัง จากหลักฐานเชิงประจักษ์ชี้ให้เห็นว่าในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังถ้าจะให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีจะต้องมีการใช้องค์ประกอบใน รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มากกว่า หนึ่งองค์ประกอบ ผลการวิจัยพบว่าโดยส่วนใหญ่เป็นไปในทิศทางบวกแม้ว่าการวิจัยบางเรื่องผลลัพธ์ยังไม่ชัดเจนแต่พบกระบวนการดูแลดีขึ้น ข้อเสนอแนะ ควรมีการนำงานวิจัยต่างๆ ที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมไปพิจารณาใช้เพื่อปรับปรุงระบบบริการการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังสำหรับประเทศไทยต่อไปโดยเฉพาะในการพัฒนาการดูแลในระบบปฐมภูมิต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรคเรื้อรังth_TH
dc.subjectการดูแลตนเองth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการสนับสนุนการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคเรื้อรังth_TH
dc.title.alternativeA Systematic Review of Chronic Care Model and Self- Management Support in Chronic illnessen_EN
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.identifier.contactno57-016en_EN
.custom.citationวิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, Wimolrat Puwarawuttipanit, จงกลวรรณ มุกสิกทอง, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, วารุณี พลิกบัว, ปิโยรส เกษตรกาลาม์, สิริกาญจน์ หาญรบ, วิภารัตน์ ศรีสุวรรณ, ลินจง โปธิบาล, จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช, สุนิภา ชินวุฒิ, ธวัชชัย สัตยสมบูรณ์, ปทุมทิพย์ อดุลวัฒนศิริ and ศรีสุดา เอกลัคนา. "รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการสนับสนุนการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง." 2558. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4368">http://hdl.handle.net/11228/4368</a>.
.custom.total_download1314
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year30
.custom.downloaded_fiscal_year3

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2218.pdf
ขนาด: 3.453Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย