Show simple item record

The Effects of Health Behavioral Adaptation Program on Weight Loss among Overweight Secondary School Students in Hat Yai District, Songkhla Province

dc.contributor.authorนิยม จันทร์แนมth_TH
dc.contributor.authorNiyom Channaemen_EN
dc.contributor.authorสุกัญญา กุลแก้วth_TH
dc.contributor.authorSukanya kulkaewen_EN
dc.contributor.authorพงค์เทพ สุธีรวุฒิth_TH
dc.contributor.authorPongthep Sutheravuten_EN
dc.date.accessioned2015-12-24T05:43:28Z
dc.date.available2015-12-24T05:43:28Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4380
dc.description.abstractสถานการณ์เด็กอ้วนของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนส่งผลกระทบมากขึ้นในอนาคต การป้องกันควบคุมโรคอ้วนด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่มีประสิทธิผลจะต้องจัดกระทำในหลายระดับและหลายองค์ประกอบ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ชนิด 2 กลุ่มไม่เท่าเทียมกันวัดก่อนและหลังการทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพและน้ำหนักที่ลดลงของเด็กมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐานก่อนและหลังเข้าโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชายและหญิงที่มีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน กำลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 51 คน และกลุ่มควบคุม 51 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประกอบด้วยนโยบายผู้บริหาร การพัฒนาสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ อิทธิพลจากกลุ่มเพื่อน ระบบบริการสุขภาพ โปรแกรมพ่อแม่ผู้ปกครอง โปรแกรมผู้จำหน่ายอาหารและโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน ช่วงเดือนกรกฎาคม 2557 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2558 วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพและน้ำหนักที่ลดลง ก่อน-หลังเข้าโปรแกรม ด้วยสถิติ Wilcoxon Signed Ranks Test และ Mann-Whitney U Test และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพในนโยบายผู้บริหารโรงเรียน การพัฒนาสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ระบบบริการสุขภาพ และผู้จำหน่ายอาหารในโรงเรียน ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองมีระดับพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 ส่วนระดับพฤติกรรมสุขภาพด้านการออกกำลังกาย กลุ่มทดลองดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ p=.05 และผลของโปรแกรมต่อการลดน้ำหนัก พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยอันดับที่ของน้ำหนักลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) ส่วนกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยอันดับที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) จากผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพส่งผลให้เด็กมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้นและน้ำหนักลดลงth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth_TH
dc.subjectการลดน้ำหนักth_TH
dc.titleผลการใช้โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพต่อการลดน้ำหนักของเด็กมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeThe Effects of Health Behavioral Adaptation Program on Weight Loss among Overweight Secondary School Students in Hat Yai District, Songkhla Provinceen_EN
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe incidence of childhood obesity in Thailand has become increasingly high and its effects are likely to worsen in the future. To control and prevent obesity effectively by behavioral changes, various levels of control and factors are needed. This two-group pretest-posttest non-equivalent control quasi-experiment aimed to compare health behavior and the lost weight among overweight secondary school students before and after the experiment. The subjects of the study were male and female students whose weight was over the standard weight studying in secondary schools in Hat Yai District of Songkhla Province. There were 51 students in each group of the control and the experimental groups. The behavioral change tools consisted of administrative policy, physical environmental development, peer influence, health service systems, parents program, food sellers program, and health behavioral change program for overweight children. The experiment was from July 2014 to February 2015. The general data were analyzed with frequency and percentage, health behavior and weights before and after the experiment were compared using Wilcoxon Signed Ranks Test and Mann-Whitney U Test. Analysis was performed with qualitative data on school administrative policy, physical environmental development, health service system, and food sellers in the school. The study found that after the experiment, the experimental group had a higher level of health behavior in food consumption than the control group at a statistically significant level of p<.05, the level of health behavior in exercise for the experimental group was also higher than that for the control group at the level of p=.05. The effects of the programs on weight loss revealed that the average of ordinal scale for the experiment group decreased with a statistic significance of (p< 0.05) while that for the control group increased with a statistic significance of (p< 0.05). The results of the study indicate that the health behavioral change program improved health behavior among the overweight secondary school students, and decreased their weights.en_EN
dc.identifier.contactno57-066en_EN
.custom.citationนิยม จันทร์แนม, Niyom Channaem, สุกัญญา กุลแก้ว, Sukanya kulkaew, พงค์เทพ สุธีรวุฒิ and Pongthep Sutheravut. "ผลการใช้โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพต่อการลดน้ำหนักของเด็กมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา." 2558. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4380">http://hdl.handle.net/11228/4380</a>.
.custom.total_download6425
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month39
.custom.downloaded_this_year643
.custom.downloaded_fiscal_year88

Fulltext
Icon
Name: healthbehavioral- ...
Size: 220.5Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record