ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการทำเหมืองทองคำแบบใหม่
dc.contributor.author | ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร | th_TH |
dc.contributor.author | Chudchawal Juntarawijit | th_TH |
dc.date.accessioned | 2016-09-20T02:58:50Z | |
dc.date.available | 2016-09-20T02:58:50Z | |
dc.date.issued | 2559-09 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 10,3 (ก.ค.-ก.ย. 2559) : 340-350 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4547 | |
dc.description.abstract | การทำเหมืองทองคำแบบใหม่ได้สร้างความกังวลให้แก่สาธารณชนในด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ บทความนี้จะนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการทำเหมืองทองคำแบบใหม่และผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น ทั้งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยพบว่า การทำเหมืองทองคำแบบใหม่จะมีลักษณะเป็นเหมืองแบบเปิด ต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่เพื่อค้นหาทองคำที่มีอยู่ในสัดส่วนน้อยมาก การทำเหมืองทองคำอาจทำให้เกิดฝุ่นละออง เสียงดังและแรงสั่นสะเทือนที่อาจสร้างผลกระทบต่อประชาชนที่อยู่ใกล้เคียง อีกทั้งในกระบวนการสกัดแร่จะต้องใช้ไซยาไนด์เป็นจำนวนมาก สารนี้มีความเป็นพิษร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์ การเปิดหน้าดินทำให้สารโลหะหนักที่เป็นเพื่อนแร่หลายชนิด เช่น สารหนู ตะกั่ว แมงกานีสและปรอทแพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ การทำเหมืองทองคำขนาดใหญ่ยังเกี่ยวข้องกับปัญหาโรคติดต่อ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและวิถีชีวิตของชุมชน ดังนั้น รัฐควรสนับสนุนให้มีการศึกษาเพื่อประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนที่อยู่บริเวณโดยรอบในทุกโครงการเหมืองทองคำแบบใหม่ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | สิ่งแวดล้อม--ผลกระทบต่อสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | สุขภาพ--ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.subject | Environmental impact analysis | th_TH |
dc.subject | Health risk assessment | th_TH |
dc.subject | เหมืองและการทำเหมืองทองคำ | th_TH |
dc.title | ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการทำเหมืองทองคำแบบใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Environmental and Health Impacts from Modern Gold Mining | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Modern gold mining is of great concern on environmental and human health impacts. Based on literature review, this article presented information on gold mining process and its related environmental and health effects. It was found that modern gold mining mostly employs open-pit technique and uses a huge area to explore a tiny amount of gold concentrate. Mining often generates enough dust, noise, and vibration to affect nearby residents. Modern gold extraction process employs a large amount of cyanide, a highly toxic compound to living organism and human. Ore exploration might also release coexisting heavy metal, such as arsenic, lead, manganese and mercury. Moreover, a large gold mining might involve communicable diseases and the change of social, economic and community lifestyle. Government should support a study on a health impact on every project of modern gold mining. | th_TH |
.custom.citation | ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร and Chudchawal Juntarawijit. "ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการทำเหมืองทองคำแบบใหม่." 2559. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4547">http://hdl.handle.net/11228/4547</a>. | |
.custom.total_download | 3083 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 11 | |
.custom.downloaded_this_year | 351 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 30 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ