Show simple item record

Prevalence and Predictors of Insulin Non Adherence in T2DM

dc.contributor.authorนีลนาถ เจ๊ะยอth_TH
dc.contributor.authorNeelanad Cheyoeth_TH
dc.coverage.spatialปัตตานีth_TH
dc.date.accessioned2016-09-20T03:51:18Z
dc.date.available2016-09-20T03:51:18Z
dc.date.issued2559-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 10,3 (ก.ค.-ก.ย. 2559) : 333-339th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4553
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการหาความชุกและปัจจัยทำนายความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งมารับบริการที่คลินิกเบาหวานโรงพยาบาลหนองจิก จังหวัดปัตตานี ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 จำนวน 95 ราย ประเมินความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินโดยการสัมภาษณ์ผู้ป่วยตามแบบสอบถามที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม R นำเสนอข้อมูลเป็นจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับการวิเคราะห์หาปัจจัยทำนายความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินใช้ multiple logistic regression analysis โดยนำเสนอเป็นค่า adjusted odds ratio (aOR) และ 95% confidence interval (CI) ของ aOR จากการศึกษาพบว่า อัตราความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินของผู้ป่วยมีมากถึงร้อยละ 80.0 ปัจจัยทำนายความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากการวิเคราะห์ด้วย multiple logistic regression คือ อายุ 51-60 ปี (aOR 20.38, 95% CI 1.32, 315.71) BMI (aOR 25.11, 95% CI 1.96, 321.17) การบริหารยาด้วยตนเอง (aOR 22.25, 95% CI 1.51, 328.2) การเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (aOR 21.0, 95% CI 1.35, 326.23) การเก็บยาอินซูลิน (aOR 42.02, 95% CI 3.16, 558.42) และการจัดการอาหารมื้อเย็น (aOR 22.6, 95% CI 2.48, 205.68) ปัญหาความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินพบมากในผู้ป่วยเบาหวาน ดังนั้น ทีมดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานจึงควรให้ความสนใจดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้มากขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุในช่วง 51-60 ปีที่ฉีดยาเอง ซึ่งยังพบว่ามีการเก็บยาและจัดการอาหารมื้อเย็นไม่ถูกต้อง ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ยาฉีดอินซูลินให้แก่ผู้ป่วยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectเบาหวาน--การรักษาth_TH
dc.titleความชุกและปัจจัยทำนายความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2th_TH
dc.title.alternativePrevalence and Predictors of Insulin Non Adherence in T2DMth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study was conducted to determine the prevalence of insulin non adherence and identify factors associated with insulin non adherence among 95 patients with type 2 diabetes mellitus in Nongjik Hospital, Pattani province from June to September 2015. Non adherence to insulin was measured by self-report questionnaire. Frequency, percentage, mean and standard deviation were used to present the analysis results. Logistic regression was used to identify multivariate predictors of insulin non adherence. Adjusted odds ratios (aOR) and their 95% confidence interval (CI) were used to present the strength of association. Prevalence of insulin non adherence was 80%. In multivariate analyses, predictors of insulin non adherence were: age 51-60 (aOR 20.38, 95% CI 1.32, 315.71), BMI (aOR 25.11, 95% CI 1.96, 321.17), selfinsulin administering (aOR 22.25, 95% CI 1.51, 328.2), hypoglycemia (aOR 21.0, 95% CI 1.35, 326.23), insulin keeping (aOR 42.02, 95% CI 3.16, 558.42) and dinner management (aOR 22.6, 95% CI 2.48, 205.68). This study has demonstrated a high prevalence of insulin non adherence in patients with type 2 diabetes. Improving insulin adherence by paying particular attention to different age groups and patients with self-administered, insulin keeping and dinner management inappropriate could help improve adherence.th_TH
.custom.citationนีลนาถ เจ๊ะยอ and Neelanad Cheyoe. "ความชุกและปัจจัยทำนายความล้มเหลวในการใช้ยาฉีดอินซูลินของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2." 2559. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4553">http://hdl.handle.net/11228/4553</a>.
.custom.total_download4663
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month55
.custom.downloaded_this_year772
.custom.downloaded_fiscal_year154

Fulltext
Icon
Name: hsri_journal_v10n ...
Size: 164.6Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record