Show simple item record

Effect of Hardship Allowance on Retention of Dentists and Their Performance in Community Hospitals, a Comparison between 2009 and 2013

dc.contributor.authorจารุวัฒน์ บุษราคัมรุหะth_TH
dc.contributor.authorJaruwat Busarakamruhath_TH
dc.contributor.authorสุณี วงศ์คงคาเทพth_TH
dc.contributor.authorSunee Wongkongkathepth_TH
dc.date.accessioned2016-09-20T03:59:27Z
dc.date.available2016-09-20T03:59:27Z
dc.date.issued2559-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 10,3 (ก.ค.-ก.ย. 2559) : 321-332th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4554
dc.description.abstractกระทรวงสาธารณสุขได้มีการแก้ไขปัญหาความขาดแคลนและการกระจายทันตแพทย์ โดยการจ่ายค่าตอบแทนในรูปแบบเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายตามระดับความยากลำบากของพื้นที่และระยะเวลาในการทำงาน การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายต่อการคงอยู่และผลงานการให้บริการของทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชน เปรียบเทียบปี 2552 กับปี 2556 วิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิจาก 2 แหล่ง คือ 1) วิเคราะห์ข้อมูลทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนจากฐานข้อมูลทันตบุคลากรของสำนักทันตสาธารณสุขปี 2552 และ 2556 เพื่อวิเคราะห์การประมาณการงบประมาณที่ต้องจ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายและการคงอยู่ของทันตแพทย์โรงพยาบาลชุมชนปี 2552 เปรียบเทียบกับปี 2556 2) วิเคราะห์ผลงานการให้บริการทันตกรรมของโรงพยาบาลชุมชนเปรียบเทียบปี 2552 กับปี 2556 จากฐานข้อมูลของสำนักบริหารการสาธารณสุข ผลการศึกษาพบว่า 1) จำนวนทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนปี 2556 เท่ากับ 2,638 คน สูงกว่าจำนวนทันตแพทย์ในปี 2552 ที่มี 1,859 คน คือเพิ่มขึ้นร้อยละ 41.9 2) ประมาณการงบประมาณค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายปี 2556 จ่ายเพิ่มขึ้น 168.6 ล้านบาท จาก 599.8 ล้านบาทในปี 2552 เป็น 768.4 ล้านบาทในปี 2556 3) ร้อยละ 52.7 ของทันตแพทย์ รพช. ทั้งหมดที่ปฏิบัติงาน 1-3 ปี เมื่อปี 2552 ได้ออกจากระบบ รพช. เมื่อปี 2556 และ 4) ผลงานบริการทันตกรรมเฉลี่ยรวมทุกประเภทต่อทันตบุคลากรปี 2556 เท่ากับ 1,565 รายต่อคน สูงกว่าปี 2552 เพียงร้อยละ 12.3 และมีร้อยละ 25.6 ของหน่วยบริการที่มีผลงานบริการทันตกรรมสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 1,840 ราย/คน/ปี แสดงให้เห็นว่าการจ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายไม่มีผลต่อการคงอยู่ของทันตแพทย์ รพช.ที่ปฏิบัติงาน 1-3 ปี และไม่มีผลในการสนับสนุนให้โรงพยาบาลชุมชนมีปริมาณผลงานบริการทันตกรรมได้ตามมาตรฐานth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectทันตแพทย์--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการบริหารค่าตอบแทนth_TH
dc.titleผลของเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายต่อการคงอยู่และผลงานการให้บริการของทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนเปรียบเทียบปี 2552 กับ ปี 2556th_TH
dc.title.alternativeEffect of Hardship Allowance on Retention of Dentists and Their Performance in Community Hospitals, a Comparison between 2009 and 2013th_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeMinistry of Public Health had put many efforts to solve shortage and manage distribution of dentists in community hospitals by initiating special allowances based on geographical locations, hardship conditions and working hours. This study aimed to evaluate the effect of additional hardship allowance for dentists who were working in community hospitals. The study used secondary data from two sources and compared between 2009 and 2013. The first data source was dentists in community hospitals from the Bureau of Dental Health database between 2009 and 2013 that were used for estimating the budget for the hardship allowance. The second dataset was derived from performance and productivity of dental workforce from Department of Health Service Support between 2009 and 2013. The results revealed that the number of dentists in community hospitals was 2,638 in 2013, compared to 1,859 in 2009, or a 41.9% increase. Additionally, the budget of hardship allowance increased 28.1%, or by 168.6 million Baht; from 599.82 million Baht in 2009 to 768.4 million Baht in 2013. However, 52.7% of dentists who started working in community hospitals in 2009 for 1-3 years, had left community hospital in 2013. Lastly, the productivity of dental health service in 2013 appeared a little higher than 2009 on average, 1,565 cases per dentist in 2013, a 12.3% increase from 2009. Nevertheless, only 25.6% of total hospitals were able to achieve high performance standard of 1,840 cases per dentist per year. In conclusion, the data suggested that the hardship allowance appeared to be unable to retain dentists who had 1- 3 years of experience to continue working in the community hospitals with little effect on productivity as a few hospitals reached the standard level of quantity performance.th_TH
.custom.citationจารุวัฒน์ บุษราคัมรุหะ, Jaruwat Busarakamruha, สุณี วงศ์คงคาเทพ and Sunee Wongkongkathep. "ผลของเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายต่อการคงอยู่และผลงานการให้บริการของทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนเปรียบเทียบปี 2552 กับ ปี 2556." 2559. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4554">http://hdl.handle.net/11228/4554</a>.
.custom.total_download703
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year21
.custom.downloaded_fiscal_year31

Fulltext
Icon
Name: hsri_journal_v10n ...
Size: 311.9Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record