dc.contributor.author | เกศรินทร์ ไทยศรีวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Kessarin Thaisriwong | en_EN |
dc.contributor.author | ยุพเยาว์ วิศพรรณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Yupayao Witsapan | en_EN |
dc.contributor.author | บัญชา พร้อมดิษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Bancha Promdit | en_EN |
dc.date.accessioned | 2017-01-23T09:08:23Z | |
dc.date.available | 2017-01-23T09:08:23Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.other | hs2302 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4636 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ประสานการส่งต่อระดับจังหวัดและระดับเขตตามกรอบการบริหารจัดการ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ และงบประมาณ กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มผู้บริหาร ได้แก่ ผู้บริหารศูนย์ประสานการส่งต่อโรงพยาบาลจังหวัด 8 คน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทั่วไป9 คน และผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน 15 คนเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้างโดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก 2) กลุ่มผู้ปฏิบัติงานในศูนย์ประสานการส่งต่อโรงพยาบาลจังหวัด 24 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้างโดยใช้การสนทนากลุ่ม 3) กลุ่มผู้รับบริการส่งต่อในระดับศูนย์ประสานการส่งต่อจังหวัด 32 คน และระดับเขต 8 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้างโดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยายและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1.ศูนย์ประสานการส่งต่อระดับจังหวัดมีรูปแบบการบริหารจัดการที่คล้ายคลึงกัน คือ 1) บริหารจัดการโดยมีสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน มีเข็มมุ่งและกรอบทิศทาง มีแนวทาง/ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงาน แต่โครงสร้างศูนย์ฯไม่ชัดเจน ไม่มีกลยุทธ์/แผนงาน/โครงการเฉพาะ ขาดการพัฒนาคุณภาพและการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลใช้เงินบำรุงของโรงพยาบาลในการพัฒนางานจัดให้มีพยาบาลวิชาชีพประจำแบบเต็มเวลาในเวรเช้า ไม่ชัดเจนในการกระบวนการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานและมีการใช้วัสดุอุปกรณ์พื้นฐานร่วมกับงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน แต่ยังไม่เพียงพอ 2.ศูนย์ประสานการส่งต่อระดับเขต มีการบริหารจัดการโดยติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามตัวชี้วัดมีการกำหนดแนวทาง/ขั้นตอนและวิธีการต่าง ๆ แต่ยังมีข้อจำกัดในการปฏิบัติ ไม่มีกลยุทธ์/แผนงานและโครงการพัฒนางานและบุคลากรของศูนย์ฯ ในระดับเขต มีการใช้เทคโนโลยีในการส่งต่อแต่ขาดการวิเคราะห์และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ที่เป็นแบบเดียวกันทั้งเขตใช้ด้านวัสดุอุปกรณ์ร่วมกันทั้งการส่งต่อในจังหวัด ในเขต และนอกเขต 3.รูปแบบการบริหารจัดการที่เหมาะสม มี 3 รูปแบบ (HMR Model) คือ 1) รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ประสานการส่งต่อระดับจังหวัดในโรงพยาบาลรับส่งต่อระดับสูง (High Level of Provincial Referral Coordination Center Model : H Model)2) รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ประสานการส่งต่อระดับจังหวัดในโรงพยาบาลรับส่งต่อระดับกลาง (Moderate Level of Provincial Referral Coordination Center Model : M Model) 3) รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ประสานการส่งต่อระดับเขต (Level of Region Referral Coordination Center Model : R Model) | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การส่งต่อผู้ป่วย | th_TH |
dc.subject | การส่งต่อผู้ป่วย--การจัดการ | th_TH |
dc.subject | บริการทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ประสานการส่งต่อ เขตสุขภาพที่ 6 | th_TH |
dc.title.alternative | Management Model of Referral Coordination Center in Health Region 6 | en_EN |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to develop the management model of referral coordination center in provincial and region level. The conceptual framework is 4M; Management, Man, Material and Money. The sampleswere divided into 3 groups. The first groups are 8 executive of referral coordination center, 9 directors in general hospital and 15 directors community hospital. The second group is 24 operational personnel inreferral coordination center. The third groups are 40 patients. The instruments are observational formsand semi-structured form, data collection from in-depth interviews and focus group. Analysis data by descriptive statistic and content analysis. The study found that; 1. All Provincial Referral Coordination Centers (PRCC) has a similar management pattern. 1) Management mostly has chain of command clearly and be unity. There has a target work, referral practice guideline, but the structure of referral coordination center that still unclear. There are no strategy, no plan and no project that specific problems or role of PRCC. The PRCC operation was not beneficial to the community hospital. The database of PRCC has quality problem and can’t to analyze.2) The operational budget of PRCC from hospital subsidy but no project support. There is a full-time nurse who operated PRCC only 08.30-16.30.The executive of PRCC has not build
employee morale process. Allmaterial of PRCC join with emergency accident department but it wasn’t enough to work.
2.The Region of Referral Coordination Centers (RRCC) has a similar PRCC management pattern. There have a regional referral practice guideline and a full-time nurse who operated work only 08.30-16.30but still implementation problem, i.e., no strategies or plan to develop work and personnel skill, lack of development to make the strengthening in network hospital, technology computer was used but can’t link the data, no pattern for regional referral data analysis. 3.The Management model of reasonable, have 3 figure; 1) high level of Provincial Referral Coordination Center Model : H model 2) moderate level of Provincial Referral Coordination Center Model : M Model 3) level of Region Referral Coordination Center Model : R Model. | en_EN |
dc.identifier.callno | WA540.JT3 ก771ร 2559 | |
dc.identifier.contactno | 59-034 | |
dc.subject.keyword | ศูนย์ประสานการส่งต่อ | th_TH |
.custom.citation | เกศรินทร์ ไทยศรีวงศ์, Kessarin Thaisriwong, ยุพเยาว์ วิศพรรณ์, Yupayao Witsapan, บัญชา พร้อมดิษฐ์ and Bancha Promdit. "รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ประสานการส่งต่อ เขตสุขภาพที่ 6." 2559. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4636">http://hdl.handle.net/11228/4636</a>. | |
.custom.total_download | 219 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 5 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |