dc.contributor.author | อมรรัตน์ มานะวัฒนวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Amonrat Manawatthanawong | en_EN |
dc.contributor.author | สุรศักดิ์ ไชยสงค์ | th_TH |
dc.contributor.author | Surasak Chaiyasong | en_EN |
dc.contributor.author | สุพล ลิมวัฒนานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Supon Limwattananon | en_EN |
dc.contributor.author | จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Chulaporn Limwattananon | en_EN |
dc.contributor.author | กัญจนา ติษยาธิคม | th_TH |
dc.contributor.author | Kanjana Tisayaticom | en_EN |
dc.contributor.author | วลัยพร พัชรนฤมล | th_TH |
dc.contributor.author | Walaiporn Patcharanarumol | en_EN |
dc.contributor.author | วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร | th_TH |
dc.contributor.author | Viroj Tangcharoensathien | en_EN |
dc.date.accessioned | 2017-09-27T02:14:44Z | |
dc.date.available | 2017-09-27T02:14:44Z | |
dc.date.issued | 2560-09 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 11,3 (ก.ค.-ก.ย. 2560) : 345-354 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4771 | |
dc.description.abstract | กลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non-communicable diseases: NCDs) เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญและเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้โดยการลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพโดยเฉพาะการสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ และการมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ ดังนั้นผู้ป่วยด้วย NCD นอกจากจะต้องให้ความร่วมมือในการรักษาแล้ว ควรหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ร่วมด้วย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานสถานการณ์การมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพในผู้ป่วยด้วย NCD ในประเทศไทยจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 จัดเก็บโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ ในกลุ่มประชากรไทยที่มีอายุ 15-65 ปี โดยทำการศึกษาข้อมูลผู้ที่รายงานว่าป่วยด้วย NCD 4 กลุ่มหลัก ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและโรคทางหายใจเรื้อรัง ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วย NCD ใน 4 กลุ่มโรคหลักนี้ยังมีพฤติกรรมเสี่ยงในการสูบบุหรี่ร้อยละ 10.7 ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ร้อยละ 16.8 ดื่มเครื่องดื่มรสหวานร้อยละ 51.3 และมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอร้อยละ 68.8 โดยเพศชายมีการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากกว่าเพศหญิง และเพศหญิงมีการดื่มเครื่องดื่มรสหวานและกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอมากกว่าเพศชาย เมื่อพิจารณาลักษณะของผู้ป่วยด้วย NCD ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพแล้ว พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในวัยแรงงานและวัยสูงอายุ ประกอบอาชีพที่ใช้ทักษะต่ำหรือทำงานภาคเกษตรกรรม อาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล สำหรับสถานภาพทางเศรษฐกิจ พบว่าผู้ป่วยด้วย NCD มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพในสัดส่วนใกล้เคียงกันทุกกลุ่ม ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าประชาชนไทยส่วนหนึ่งยังมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพถึงแม้จะเป็นผู้ป่วยด้วย NCD แล้วก็ตาม ดังนั้นในการดูแลผู้ป่วยด้วย NCD ควรสนับสนุนให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงและปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | โรคไม่ติดต่อ | th_TH |
dc.subject | Non-communicable Diseases | en_EN |
dc.subject | พฤติกรรมสุขภาพ | th_TH |
dc.title | ผู้ป่วยด้วย NCD มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพอยู่มากน้อยแค่ไหน: รายงานจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 | th_TH |
dc.title.alternative | How Many NCD Patients Have Risky Health Behaviors?: Report from Health and Welfare Survey | en_EN |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Non-communicable Diseases (NCDs) are a major public health problem. NCDs can be prevented by reducing risk factors such as smoking, alcohol consumption, sweetened beverage consumption, and inadequate physical activity. For a more effective solution, the ordinary NCDs treatment should be adopted, as well as the preventions of the NCDs risk factors. This study aimed to report the situ¬ation of NCD patients’ risk behaviors in Thailand. The secondary data from the 2015 National Health and Welfare Survey was adopted for analysis on NCD patients aged 15-65 years who had cardiovascu-lar disease, diabetes mellitus, cancer, or chronic respiratory disease. The study showed that risk be¬haviors in smoking (10.7%), alcohol consumption (16.8%), sweetened beverage consumption (51.34%) and inadequate physical activity (68.8%) were still occurring among NCD patients. The evaluation also suggested that while the male group had increased risk behaviors of smoking and alcohol consump¬tion than female group, however the latter had increased risk behavior of sweetened beverage con¬sumption and inadequate physical activity. By considering the socio-economic characteristics of the NCD patients, the study found that the majority of NCD patients consisted of ageing and adult workers in agricultural and low-skill industrial sectors, and those who lived in outer urban area. It was further noted that different economic status was not a significant factor in affecting the NCD risk behaviors. The findings confirmed that Thailand’s NCD patients had high risky health behaviors and health pro-motion activities were highly recommended for reversing these risks. | en_EN |
dc.subject.keyword | โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง | th_TH |
dc.subject.keyword | NCD | en_EN |
.custom.citation | อมรรัตน์ มานะวัฒนวงศ์, Amonrat Manawatthanawong, สุรศักดิ์ ไชยสงค์, Surasak Chaiyasong, สุพล ลิมวัฒนานนท์, Supon Limwattananon, จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, Chulaporn Limwattananon, กัญจนา ติษยาธิคม, Kanjana Tisayaticom, วลัยพร พัชรนฤมล, Walaiporn Patcharanarumol, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร and Viroj Tangcharoensathien. "ผู้ป่วยด้วย NCD มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพอยู่มากน้อยแค่ไหน: รายงานจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4771">http://hdl.handle.net/11228/4771</a>. | |
.custom.total_download | 3707 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 63 | |
.custom.downloaded_this_year | 643 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 162 | |