แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทย

dc.contributor.authorพัฒนาวิไล อินใหมth_TH
dc.contributor.authorPhatthanawilai Inmaien_US
dc.contributor.authorพุดตาน พันธุเณรth_TH
dc.contributor.authorPudtan Phanthunaneen_US
dc.contributor.authorถาวร สกุลพาณิชย์th_TH
dc.contributor.authorThaworn Sakunphaniten_US
dc.date.accessioned2017-09-28T04:21:19Z
dc.date.available2017-09-28T04:21:19Z
dc.date.issued2560-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 11,3 (ก.ค.-ก.ย. 2560) : 435-450th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4780
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำและพัฒนาดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทย ทั้งในภาครัฐและเอกชน ดัชนีราคาค่าแรงถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องในต่างประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และแคนาดาในการตรวจวัดต้นทุนค่าแรงในตลาดสุขภาพ อีกทั้งใช้ในการวางนโยบายค่าแรงทั้งในภาครัฐและเอกชน แต่ก็ยังไม่มีการพัฒนาตัวชี้วัดนี้ในประเทศไทย ค่าตอบแทนในการศึกษานี้หมายถึงเงินเดือนและค่าตอบแทน รวมถึงสวัสดิการต่างๆ ที่เป็นตัวเงิน กำหนดปี พ.ศ. 2551-2554 เป็นปีที่ศึกษา และใช้ปี พ.ศ. 2553 เป็นปีฐานสำหรับจัดทำตัวถ่วงน้ำหนักของค่าตอบแทน ประมาณค่าแรงแพทย์รวมในภาครัฐจากงบประมาณประจำปี และประมาณค่าแรงแพทย์รวมในภาคเอกชนจากการสำรวจค่าตอบแทนภาคเอกชนและการสำรวจโรงพยาบาลและสถานพยาบาลเอกชนของสำนักงานสถิติแห่งชาติ โดยเลือกใช้เทคนิคลาสแปร์ในการคำนวณดัชนีราคาค่าแรง ผลการศึกษาพบว่า ค่าตอบแทนเฉลี่ยของแพทย์ในโรงพยาบาลเอกชนสูงกว่าโรงพยาบาลรัฐ แต่อัตราการเติบโตของค่าตอบแทนเฉลี่ยของแพทย์ในโรงพยาบาลรัฐสูงกว่าในระหว่างปี 2551-2554 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในโรงพยาบาลรัฐเพิ่มขึ้น 1.5-1.6 % โดยประมาณ ขณะที่ดัชนีราคาค่าแรงของแพทย์โรงพยาบาลเอกชนลดลง 1.4-1.5 % โดยประมาณ ทั้งนี้ในงานวิจัยต่อไปควรมีการสำรวจดัชนีราคาค่าแรงเพื่อให้สามารถสะท้อนค่าตอบแทนแพทย์ภาพรวมในระบบสาธารณสุขของประเทศได้ รวมถึงควรมีการศึกษาดัชนีราคาค่าแรงของบุคลากรทางการแพทย์สาขาอื่นๆ ด้วย ยกตัวอย่างเช่น พยาบาล ทันตแพทย์ เภสัชกร สหวิชาชีพ หรือเจ้าหน้าที่อื่นๆ ที่สนับสนุนบริการในโรงพยาบาลth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isoenth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectค่าจ้าง--บุคลากรการแพทย์th_TH
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลกับค่าตอบแทนth_TH
dc.titleดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeLabor Price Index for Physicians in Thailanden_US
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to formulate and develop the labor price index (LPI) for physicians in Thailand in both public and private health service sectors. LPI was developed and used extensively in the US, Australia, New Zealand and Canada to enable the monitoring of labor cost in the healthcare market and planning wage policies in public and private sectors. However, LPI is new and has not been comprehensively studied and developed in Thailand. Physician compensation in this study included salaries and benefit or welfare. The total physician compensation in public and private hospitals was estimated from the annual budget and the survey by the National Statistical Office (NSO). The weight was calculated by the ratio of share for labor expenditure in a base year. The LPIs of 2008 to 2011 were calculated. The Laspeyres LPI was used in this study, and LPI of 2010 was defined as the base year. It was found that between 2008 and 2011, the average of physician compensation in private hospitals was higher than public hospitals. On the contrary, the average growth rate of physician compensation in public hospitals was higher than private hospitals. The results showed that the LPI of public hospitals increased approximately 1.5-1.6% annually while the LPI of private hospitals declined approximately 1.4-1.5%. This study recommended that surveys to represent physician populations should be undertaken. Moreover, LPIs for other professional groups such as nurses, dentists, pharmacists, other medical workers working at back offices should also be studied.en_US
.custom.citationพัฒนาวิไล อินใหม, Phatthanawilai Inmai, พุดตาน พันธุเณร, Pudtan Phanthunane, ถาวร สกุลพาณิชย์ and Thaworn Sakunphanit. "ดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทย." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4780">http://hdl.handle.net/11228/4780</a>.
.custom.total_download1913
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month37
.custom.downloaded_this_year443
.custom.downloaded_fiscal_year77

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri_journal_v11n ...
ขนาด: 400.5Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย