การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก
dc.contributor.author | วิษณุ ธรรมลิขิตกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Visanu Thamlikitkul | en_EN |
dc.contributor.author | ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์ | th_TH |
dc.contributor.author | Pinyo Rattanaumpawan | en_EN |
dc.contributor.author | อธิรัฐ บุญญาศิริ | th_TH |
dc.contributor.author | Adhiratha Boonyasiri | en_EN |
dc.contributor.author | รุจิภาส สิริจตุภัทร | th_TH |
dc.contributor.author | Rujipas Sirijatuphat | en_EN |
dc.contributor.author | ศศิ เจริญพจน์ | th_TH |
dc.contributor.author | Sasi Jaroenpoj | en_EN |
dc.date.accessioned | 2018-01-03T03:19:52Z | |
dc.date.available | 2018-01-03T03:19:52Z | |
dc.date.issued | 2560-12 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 11,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2560) : 453-470 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4810 | |
dc.description.abstract | โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยได้ดำเนินการ 10 กิจกรรม ในการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ได้แก่ 1) ประมาณการขนาดปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย 2) ระบุวงจรการดื้อยาต้านจุลชีพและพลวัตของการเกิดและการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย รวมถึงความชุกของเชื้อที่สำคัญ 3) พัฒนาโครงสร้างระดับชาติในการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพของประเทศไทย 4) พัฒนาห้องปฏิบัติการและระบบการเฝ้าระวังการดื้อยาต้านจุลชีพ เฝ้าระวังการใช้ต้านจุลชีพและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 5) ควบคุมการกระจายยาต้านจุลชีพในมนุษย์และสัตว์ที่มนุษย์เลี้ยงไว้ใช้เป็นอาหาร 6) ออกแบบการรณรงค์เพื่อป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพ 7) สร้างหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อสนับสนุนการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างรับผิดชอบและการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในบริบทของประเทศไทย 8) พัฒนาชุดรณรงค์ต่อต้านการดื้อยาต้านจุลชีพ 9) นำชุดรณรงค์ต่อต้านการดื้อยาต้านจุลชีพไปใช้ควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในกลุ่มเป้าหมายนำร่อง และ 10) วิจัยและพัฒนาการเฝ้าระวังการดื้อยาต้านจุลชีพ การวินิจฉัยและการรักษา และการป้องกันการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยมีผลงานที่สำคัญ เช่น ทราบขนาดของปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย มีชุดรณรงค์ต่อต้านการดื้อยาต้านจุลชีพสำหรับประชาชนและบุคลากรสาธารณสุขที่พัฒนาอย่างสอดคล้องกับความชุกและวงจรการเกิดการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยและได้หลักฐานของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบและการควบคุมป้องกันการติดเชื้อ การนำชุดรณรงค์ต่อต้านการดื้อยาต้านจุลชีพไปใช้ในกลุ่มเป้าหมายนำร่อง พบว่ามีประสิทธิผลในการเพิ่มความตระหนักและความเข้าใจเกี่ยวกับการดื้อยาต้านจุลชีพ เกิดการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างรับผิดชอบมากขึ้น และเกิดการปฏิบัติตามแนวทางการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อมากขึ้น ผลงานของโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยถูกนำไปใช้ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพระดับชาติแล้ว | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | en | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ยาปฏิชีวนะ | th_TH |
dc.subject | การดื้อยา | th_TH |
dc.subject | ยา--การควบคุมและป้องกันการดื้อยา | th_TH |
dc.subject | ยา--การดื้อยา | th_TH |
dc.subject | การดื้อยาต้านจุลชีพ | th_TH |
dc.title | การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก | th_TH |
dc.title.alternative | Operational Actions of the Thailand Antimicrobial Resistance (AMR) Containment and Prevention Program in Response to the World Health Organization (WHO) Global Action Plan on AMR | en_EN |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The Thailand Antimicrobial Resistance (AMR) Containment and Prevention Program, utilizing a One Health approach, has been implementing the following 10 operational actions in accordance with the World Health Organization (WHO) global action plan on AMR since 2013. They are: 1) estimate the national AMR burden; 2) determine the AMR prevalence and AMR chain in Thailand; 3) develop a national AMR containment and prevention governance structure; 4) develop laboratory and information technology systems for surveillance of AMR, antibiotic use and hospital-acquired infections; 5) regulate the use and distribution of antibiotics in humans and food animals; 6) design AMR containment and prevention campaigns; 7) generate local evidence to promote responsible antibiotic use and infection prevention and control practices; 8) create the AMR campaign packages; 9) implement the AMR campaign packages in selected communities; and 10) conduct research and development of AMR surveillance, diagnostics, and therapy and prevention of AMR infections. The major outputs, outcomes and impacts of the Thailand AMR program are: the magnitude of the AMR burden in Thailand was established; AMR campaign packages for health professionals and laypeople were developed according to the established AMR chain and AMR prevalence in Thailand; and locally-generated evidence on the responsible use of antibiotics and infection prevention and control (IPC) is available. Implementation of AMR campaign packages in 4 pilot communities revealed their effectiveness in terms of improved awareness and understanding of AMR, responsible use of antibiotics, and compliance with IPC practices. Many containment and prevention measures from the Thailand AMR program have been adopted as national policy and implemented nationally. | en_EN |
.custom.citation | วิษณุ ธรรมลิขิตกุล, Visanu Thamlikitkul, ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์, Pinyo Rattanaumpawan, อธิรัฐ บุญญาศิริ, Adhiratha Boonyasiri, รุจิภาส สิริจตุภัทร, Rujipas Sirijatuphat, ศศิ เจริญพจน์ and Sasi Jaroenpoj. "การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4810">http://hdl.handle.net/11228/4810</a>. | |
.custom.total_download | 1925 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 15 | |
.custom.downloaded_this_year | 216 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 34 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ