Show simple item record

Effects of Campaigns Using Change Agent Team and Mass Media to Promote Concept of and New Social Norm towards Antibiotic Smart Use

dc.contributor.authorพัชรี ดวงจันทร์th_TH
dc.contributor.authorPatcharee Duangchanen_EN
dc.contributor.authorสมหญิง พุ่มทองth_TH
dc.contributor.authorSomying Pumtongen_EN
dc.contributor.authorนิธิมา สุ่มประดิษฐ์th_TH
dc.contributor.authorNithima Sumpraditen_EN
dc.date.accessioned2018-01-03T03:38:19Z
dc.date.available2018-01-03T03:38:19Z
dc.date.issued2560-12
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 11,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2560) : 481-499th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4812
dc.description.abstractงานวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการรณรงค์แนวคิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antibiotic Smart Use: ASU) ผ่านสื่อบุคคลและสื่อกระแสหลัก และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลกับพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล กลุ่มตัวอย่างคือประชาชนจำนวน 624 คน จำแนกเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 348 คนและกลุ่มควบคุมจำนวน 276 คน ในกลุ่มทดลองมีการจัดโครงการรณรงค์แนวคิด ASU โดยทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ (change agent team) และสื่อกระแสหลัก เปรียบเทียบบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลกับพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ระหว่างก่อนกับหลังการทดลองโดยใช้สถิติ paired t-test และระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ independent t-test ผลการทดลองพบว่า กลุ่มทดลองมีบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลเพิ่มขึ้นจากก่อนการรณรงค์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมพบว่า บรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลภายหลังการรณรงค์ไม่แตกต่างกัน ในขณะที่พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลภายหลังการรณรงค์เพิ่มขึ้นจากก่อนการรณรงค์และแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบว่า การเปลี่ยนแปลงบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลมีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การรณรงค์แนวคิด ASU โดยทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่และสื่อกระแสหลักมีประสิทธิผลในการปรับเปลี่ยนบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลและพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectยาปฏิชีวนะth_TH
dc.subjectการดื้อยาth_TH
dc.subjectยา--การควบคุมและป้องกันการดื้อยาth_TH
dc.subjectยา--การดื้อยาth_TH
dc.subjectการดื้อยาต้านจุลชีพth_TH
dc.subjectAntibioticen_EN
dc.subjectSocial normsen_EN
dc.subjectบรรทัดฐานทางสังคมth_TH
dc.titleผลการรณรงค์โดยใช้ทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงและสื่อกระแสหลักต่อแนวคิดและบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลth_TH
dc.title.alternativeEffects of Campaigns Using Change Agent Team and Mass Media to Promote Concept of and New Social Norm towards Antibiotic Smart Useen_EN
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research aimed to determine effects of campaign using change agent team and mass media for promotion of Antibiotic Smart Use (ASU) concept and new social norm towards ASU. A correlation between social norm and ASU behaviors was also examined. The sample was 624 subjects, 348 were assigned to the intervention group, and 276 to the control group. The interintervention group was implemented with a campaign using change agent team and mass media aimed at promotion of ASU concept and new social norm. Paired t-test was used to compare social norm and ASU behaviors between baseline data and after the campaign implementation. An independent t-test was used to compare those between the intervention and control groups. Results at the end of the campaign implementation demonstrated that social norm in the intervention group was significantly higher than the baseline data, but no significant difference in social norm was found between the intervention and control groups. With regard to ASU behaviors, there was significant improvement in ASU behaviors after the campaign implementation in the intervention group. A Significant difference was also found for ASU behaviors between the intervention and control groups after the campaign implementation. In addition, this study demonstrated that changes in social norm towards ASU were significantly correlated with changes in ASU behavior.en_EN
dc.subject.keywordAntibioticen_EN
dc.subject.keywordการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลth_TH
.custom.citationพัชรี ดวงจันทร์, Patcharee Duangchan, สมหญิง พุ่มทอง, Somying Pumtong, นิธิมา สุ่มประดิษฐ์ and Nithima Sumpradit. "ผลการรณรงค์โดยใช้ทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงและสื่อกระแสหลักต่อแนวคิดและบรรทัดฐานทางสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4812">http://hdl.handle.net/11228/4812</a>.
.custom.total_download1728
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month17
.custom.downloaded_this_year57
.custom.downloaded_fiscal_year115

Fulltext
Icon
Name: hsri_journal_v11n ...
Size: 344.0Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

Show simple item record