Lessons Learnt from Scaling up to Sustainability of Antibiotics Smart Use (ASU)
dc.contributor.author | สมหญิง พุ่มทอง | th_TH |
dc.contributor.author | Somying Pumtong | en_EN |
dc.contributor.author | พัชรี ดวงจันทร์ | th_TH |
dc.contributor.author | Patcharee Duangchan | en_EN |
dc.contributor.author | กัญญดา อนุวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Kunyada Anuwong | en_EN |
dc.contributor.author | นิธิมา สุ่มประดิษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Nithima Sumpradit | en_EN |
dc.date.accessioned | 2018-01-03T03:52:31Z | |
dc.date.available | 2018-01-03T03:52:31Z | |
dc.date.issued | 2560-12 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 11,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2560) : 500-515 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4813 | |
dc.description.abstract | โครงการ Antibiotics Smart Use (ASU) เริ่มในปี พ.ศ. 2550 โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีเป้าหมายเพื่อสร้างบรรทัดฐานใหม่ทางสังคมในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย งานวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความยั่งยืนของการดำเนินโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง จากผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 39 คน (จาก 30 โครงการ 18 จังหวัด) ระหว่างวันที่ 21 มกราคม ถึง 28 มีนาคม 2556 (2 เดือน) การคัดเลือกเป็นแบบเจาะจงจากบุคลากรทางการแพทย์ที่มีความเกี่ยวข้องในการประสานงาน สนับสนุน ส่งเสริมหรือขับเคลื่อนงาน ASU เป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการเริ่มดำเนินงาน ASU และความยั่งยืนในองค์กร ได้แก่ การสนับสนุนด้านนโยบาย การผนวกเข้ากับงานประจำ การสนับสนุนของผู้บริหาร ความร่วมมือของบุคลากร ภาคีเครือข่าย การมีส่วนร่วมของชุมชน พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของประชาชน และการติดตามและประเมินผลโครงการ ผลที่ได้จากการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร ผู้จัดการโครงการและนักประเมินผลในวางแผนการขับเคลื่อนงาน ASU ให้บรรลุเป้าหมาย | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ยาปฏิชีวนะ | th_TH |
dc.subject | การดื้อยา | th_TH |
dc.subject | ยา--การควบคุมและป้องกันการดื้อยา | th_TH |
dc.subject | ยา--การดื้อยา | th_TH |
dc.subject | การดื้อยาต้านจุลชีพ | th_TH |
dc.subject | Antibiotic | en_EN |
dc.title | บทเรียนจากการขยายผลสู่ความยั่งยืนของโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล | th_TH |
dc.title.alternative | Lessons Learnt from Scaling up to Sustainability of Antibiotics Smart Use (ASU) | en_EN |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Antibiotics Smart Use (ASU) was introduced in 2007 by Thai Food and Drug Administration. Its goal was to create new social norm on rational use of antibiotics in Thailand. Qualitative research was used to investigate factors for sustainability of the ASU. Semi-structured interviews were conducted with 39 key informants (30 projects, 18 provinces) between January 21 and March 28, 2013 (2 months). Content analysis was used. The key informants were purposively selected from health care professionals who experienced the ASU as a coordinator, supporter, promoter and driver at least one year. Results show that key factors that affect the start up of ASU and sustainability in the organizations include policy support, institutionalization, leadership support, staff involvement, partnership, community participation, public behavior on antibiotics use, and program monitoring and evaluation. These findings will be useful for decision makers, program managers and program evaluators for driving the ASU to achieve the goal. | en_EN |
dc.subject.keyword | การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล | th_TH |
.custom.citation | สมหญิง พุ่มทอง, Somying Pumtong, พัชรี ดวงจันทร์, Patcharee Duangchan, กัญญดา อนุวงศ์, Kunyada Anuwong, นิธิมา สุ่มประดิษฐ์ and Nithima Sumpradit. "บทเรียนจากการขยายผลสู่ความยั่งยืนของโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4813">http://hdl.handle.net/11228/4813</a>. | |
.custom.total_download | 2631 | |
.custom.downloaded_today | 1 | |
.custom.downloaded_this_month | 30 | |
.custom.downloaded_this_year | 285 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 60 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ