Prevalence of Antimicrobial Resistant Bacteria in Dogs Resided in Central Region of Thailand
dc.contributor.author | สุขฤทัย บุญมาไสว | th_TH |
dc.contributor.author | Sookruetai Boonmasawai | en_EN |
dc.contributor.author | นรสุทธิ์ บางภูมิ | th_TH |
dc.contributor.author | Norasuthi Bangphoomi | en_EN |
dc.contributor.author | ศิวะพงษ์ สังข์ประดิษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Sivapong Sungpradit | en_EN |
dc.contributor.author | นรัชพัณญ์ ปะทิ | th_TH |
dc.contributor.author | Naratchaphan Pati | en_EN |
dc.contributor.author | ธีระวิทย์ ตั้งก่อสกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Teerawit Tangkoskul | en_EN |
dc.contributor.author | วิษณุ ธรรมลิขิตกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Visanu Thamlikitkul | en_EN |
dc.date.accessioned | 2018-01-03T07:21:34Z | |
dc.date.available | 2018-01-03T07:21:34Z | |
dc.date.issued | 2560-12 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 11,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2560) : 572-580 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4819 | |
dc.description.abstract | มนุษย์และสุนัขที่เป็นสัตว์เลี้ยงมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด การสัมผัสโดยตรงระหว่างมนุษย์และสุนัขนั้นอาจเป็นปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเชื้อแบคทีเรียก่อโรคระหว่างกันได้ กลุ่มสัตว์เลี้ยงจึงอาจเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพ เนื่องจากตรวจพบเชื้อแบคทีเรียและยีนของแบคทีเรียที่ดื้อยาต้านจุลชีพในสัตว์เลี้ยงเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีเป้าหมายในการสำรวจเชื้อแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในอุจจาระของสุนัขที่อาศัยอยู่ในเขตภาคกลางของประเทศไทย สุนัขสุขภาพดีรวม 100 ตัว (สุนัขที่มีเจ้าของ 50 ตัว และสุนัขจรจัดจำนวน 50 ตัว) ถูกเก็บตัวอย่างด้วยวิธี rectal swab เพื่อนำมาจำแนกชนิดของแบคทีเรียและทดสอบความไวต่อยาต้านจุลชีพ ผลการศึกษาพบความชุกของแบคทีเรียชนิด extended-spectrum beta-lactamase-producing (ESBL) Enterobacteriaceae ร้อยละ 35 จากตัวอย่างสุนัขทั้งหมด และพบ ESBL-producing Enterobacteriaceae จากตัวอย่างของสุนัขจรจัด (ร้อยละ 62) มากกว่าสุนัขมีเจ้าของ (ร้อยละ 8) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ตัวอย่างหนึ่งที่เก็บจากสุนัขมีเจ้าของยังตรวจพบ methicillin-resistant Staphylococcus aureus อีกด้วย ผลการตรวจสอบความไวต่อยาต้านจุลชีพพบว่า เชื้อ Escherichia coli ที่พบในตัวอย่างของสุนัขมีเจ้าของมีลักษณะดื้อยาต้านจุลชีพบางชนิดมากกว่าสุนัขจรจัด ผลการศึกษาแสดงว่าสุนัขที่อาศัยอยู่ในเขตภาคกลางของประเทศไทยเป็นแหล่งเก็บกัก (reservoir) เชื้อแบคทีเรียที่ดื้อยาต้านจุลชีพเช่นกัน | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | en | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Antimicrobial | en_EN |
dc.subject | การดื้อยาต้านจุลชีพ | th_TH |
dc.title | ความชุกของเชื้อแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในสุนัขที่อาศัยอยู่ในเขตภาคกลางของประเทศ | th_TH |
dc.title.alternative | Prevalence of Antimicrobial Resistant Bacteria in Dogs Resided in Central Region of Thailand | en_EN |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Humans and companion dogs have directly been in close contacts which may pose an important risk of transmitting pathogens and infections. The domestic animals may contribute to antimicrobial resistance problem because antimicrobial resistant bacteria and antimicrobial resistant genes were increasingly found in pets. Thus, the aim of this study was to survey fecal carriage of antimicrobial resistant bacteria in dogs resided in the central region of Thailand. The rectal swabs were taken from 100 apparently healthy dogs (50 stray dogs and 50 household dogs) for bacterial cultures and antibiotic susceptibility testing. The results revealed that an overall prevalence of extended-spectrum beta-lactamase (ESBL)- producing Enterobacteriaceae in dogs was 35%. ESBL-producing Enterobacteriaceae in fecal carriage in the stray dog samples (62%) was significantly more than the household dog samples (8%), (p<0.001). Methicillin-resistant Staphylococcus aureus was also isolated from a household dog. Escherichia coli isolated from the household dogs tended to be more resistant to some antibiotics than those from the stray dogs. These observations imply that the dogs resided in the central region of Thailand are also the reservoir of antimicrobial resistant bacteria. | en_EN |
.custom.citation | สุขฤทัย บุญมาไสว, Sookruetai Boonmasawai, นรสุทธิ์ บางภูมิ, Norasuthi Bangphoomi, ศิวะพงษ์ สังข์ประดิษฐ์, Sivapong Sungpradit, นรัชพัณญ์ ปะทิ, Naratchaphan Pati, ธีระวิทย์ ตั้งก่อสกุล, Teerawit Tangkoskul, วิษณุ ธรรมลิขิตกุล and Visanu Thamlikitkul. "ความชุกของเชื้อแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในสุนัขที่อาศัยอยู่ในเขตภาคกลางของประเทศ." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4819">http://hdl.handle.net/11228/4819</a>. | |
.custom.total_download | 1667 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 18 | |
.custom.downloaded_this_year | 196 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 28 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ