dc.contributor.author | ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Titiporn Tuangratananon | en_US |
dc.contributor.author | นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์ | th_TH |
dc.contributor.author | Nucharapon Liangruenrom | en_US |
dc.contributor.author | ฐิติกร โตโพธิ์ไทย | th_TH |
dc.contributor.author | Thitikorn Topothai | en_US |
dc.contributor.author | ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย | th_TH |
dc.contributor.author | Chompoonut Topothai | en_US |
dc.contributor.author | สุพล ลิมวัฒนานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Supon Limwattananonta | en_US |
dc.contributor.author | จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Chulaporn Limwattananon | en_US |
dc.contributor.author | กัญจนา ติษยาธิคม | th_TH |
dc.contributor.author | Kanjana Tisayaticom | en_US |
dc.contributor.author | วลัยพร พัชรนฤมล | th_TH |
dc.contributor.author | Walaiporn Patcharanarumol | en_US |
dc.contributor.author | วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร | th_TH |
dc.contributor.author | Viroj Tangcharoensathien | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-03-30T02:56:39Z | |
dc.date.available | 2018-03-30T02:56:39Z | |
dc.date.issued | 2561-03 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 12,1 (ม.ค.-มี.ค. 2561) : 27-41 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4853 | |
dc.description.abstract | มีหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นจำนวนมากที่แสดงให้เห็นประโยชน์ของการมีกิจกรรมทางกาย หลายการศึกษาระบุว่า ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการมีกิจกรรมทางกาย การกำหนดนโยบายจึงต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย เขตการปกครองและดัชนีทรัพย์สินครัวเรือน กับปริมาณการใช้พลังงานของกิจกรรมทางกายแจกแจงตามประเภทของประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป จากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการปี พ.ศ. 2558 จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 113,882 คน พบว่า ประชากรที่มีรายได้สูง และอาศัยในเขตเทศบาล มีแนวโน้มที่จะใช้พลังงานจากกิจกรรมทางกายต่ำ โดยประชากรที่มีรายได้สูงสุด (ควินไทล์ 5) ใช้พลังงานต่ำสุด (1,159 และ 1,437 Metabolic Equivalence of Task-นาที/สัปดาห์ ในและนอกเขตเทศบาลตามลำดับ) ในขณะที่ประชากรที่มีรายได้ต่ำสุด (ควินไทล์ 1) ใช้พลังงานสูงสุด (2,182 และ 1,921 MET-นาที/สัปดาห์ ในและนอกเขตเทศบาลตามลำดับ) เมื่อแจกแจงตามประเภทของกิจกรรมทางกาย ในประเภทการทำงาน พบผลในทางเดียวกันกับการใช้พลังงานในภาพรวม คือ กลุ่มที่มีรายได้ต่ำและอาศัยนอกเขตเทศบาล ใช้พลังงานมากกว่า ในขณะที่ประเภทนันทนาการ กลับพบผลในทางตรงกันข้าม คือ ผู้มีรายได้สูงและอาศัยในเขตเทศบาล ใช้พลังงานมากกว่า ส่วนประเภทการเดินทาง พบว่าผู้อาศัยในเขตเทศบาล ใช้พลังงานมากกว่าเล็กน้อย ข้อค้นพบจากการศึกษานี้ มีประโยชน์ในการพัฒนานโยบายเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายแต่ละประเภท ให้เหมาะกับรายได้ และเขตที่อยู่อาศัยของประชากรแต่ละกลุ่ม | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมทางกาย | th_TH |
dc.subject | การสร้างเสริมสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Promotion | en_US |
dc.title | ความแตกต่างของการใช้พลังงานจากกิจกรรมทางกายระหว่างคนเมือง/คนชนบทในประเทศไทย: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 | th_TH |
dc.title.alternative | Differences in Physical Activity Levels between Urban and Rural Adults in Thailand: Findings from the 2015 National Health and Welfare Survey | en_US |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Physical activity (PA) is proven to have great benefits to health. Previous studies found that differences
in social determinants of health and environment affect physical activity levels; different policy
interventions are, therefore, required. This study explored the association between physical activity
levels and residential areas in Thailand in different household asset indices. The data were obtained
from the 2015 National Health and Welfare Survey of 113,882 Thai adults aged 15 and above. Descriptive
and analytic statistics were employed in the analysis.
The result showed that urban respondents with higher income tended to have less energy expenditure.
People with the highest income level (Quintile 5) spent the least energy expenditure (1,159 and
1,437 Metabolic Equivalence of Task-minute/week in urban and rural areas, respectively). In contrast, the
poorest (Quintile 1) had the highest energy expenditure (2,182 and 1,921 MET-minute/week in urban and
rural areas, respectively). When analyzed by three PA domains, it was found that rural and poorer
people tended to have higher occupational energy expenditure, whereas urban and richer people had
significant higher recreational energy expenditure. In transportation, urbanites had slightly higher energy
expenditure than rural people.
Our findings will benefit the formulation of the national PA-promotion policies by tailoring physical
and social environments conducive to PA needed for each subgroup according to their socioeconomic
status. | en_US |
.custom.citation | ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์, Titiporn Tuangratananon, นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์, Nucharapon Liangruenrom, ฐิติกร โตโพธิ์ไทย, Thitikorn Topothai, ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย, Chompoonut Topothai, สุพล ลิมวัฒนานนท์, Supon Limwattananonta, จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, Chulaporn Limwattananon, กัญจนา ติษยาธิคม, Kanjana Tisayaticom, วลัยพร พัชรนฤมล, Walaiporn Patcharanarumol, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร and Viroj Tangcharoensathien. "ความแตกต่างของการใช้พลังงานจากกิจกรรมทางกายระหว่างคนเมือง/คนชนบทในประเทศไทย: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4853">http://hdl.handle.net/11228/4853</a>. | |
.custom.total_download | 938 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 11 | |
.custom.downloaded_this_year | 160 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 25 | |