การประเมินผลคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการทางห้องปฏิบัติการของหน่วยบริการปฐมภูมิตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2557-2559
dc.contributor.author | เรวดี สิริธัญญานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Raevadee Siritunyanont | en_US |
dc.contributor.author | วาสิฏฐี แก้วกระจ่าง | th_TH |
dc.contributor.author | Wasittee Kaewkrajang | en_US |
dc.contributor.author | ปวีณา กมลรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Paweena Kamolrak | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-03-30T04:25:08Z | |
dc.date.available | 2018-03-30T04:25:08Z | |
dc.date.issued | 2561-03 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 12,1 (ม.ค.-มี.ค. 2561) : 113-123 | th_TH |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4860 | |
dc.description.abstract | การจัดทำระบบคุณภาพและมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิ หรือ Primary Care Standard (PCS) ประกอบด้วย 8 หัวข้อใหญ่ 40 หัวข้อย่อย นำมาจัดเรียงเป็นแบบตรวจติดตามและประเมินผล (checklist) เพื่อให้หน่วยบริการปฐมภูมินำไปใช้เป็นแนวทางจัดระบบบริการและพัฒนางานทางห้องปฏิบัติการของหน่วยบริการปฐมภูมิให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและเรียงลำดับความถี่ของข้อกำหนดระบบคุณภาพที่ดำเนินการไม่ได้ของหน่วยบริการปฐมภูมิที่ได้รับการตรวจประเมินโดยห้องปฏิบัติการเครือข่าย จำนวน 7,452 แห่ง ร้อยละ 80.89 ระหว่างปีงบประมาณ 2557-2559 จากผลการศึกษาพบว่า ข้อกำหนดที่ไม่สามารถดำเนินการให้ถูกต้องหรือดำเนินการไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดมากที่สุด ได้แก่ หัวข้อที่ 3 ความไม่พร้อมใช้งานของวัสดุ น้ำยาและเครื่องมือทดสอบที่หน่วยบริการปฐมภูมิเปิดให้บริการ ได้แก่ การตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (blood glucose) ด้วยเครื่องกลูโคมิเตอร์ การตรวจภาวะตั้งครรภ์ในปัสสาวะด้วยชุดทดสอบ (pregnancy test) การตรวจน้ำตาลกลูโคสและโปรตีนในปัสสาวะด้วยแถบทดสอบ (urine strip test) และการตรวจปริมาตรเม็ดเลือดแดงอัดแน่น (hematocrit) ผลการศึกษานี้ แสดงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่มีโอกาสเรียนรู้และได้ใช้ข้อมูลจากผลการศึกษานี้ จัดทำนโยบายและแนวทางในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการบริการ และพัฒนาส่วนที่ดำเนินการไม่ได้ของหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อพัฒนาบริการทางห้องปฏิบัติการของหน่วยบริการปฐมภูมิให้มีคุณภาพ ซึ่งจะช่วยลดความแออัดของการใช้บริการในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ และเป็นการส่งเสริมการรักษา การป้องกันและการควบคุมโรคให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | บริการปฐมภูมิ | th_TH |
dc.subject | การประเมินคุณภาพ | th_TH |
dc.title | การประเมินผลคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการทางห้องปฏิบัติการของหน่วยบริการปฐมภูมิตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2557-2559 | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of Laboratory Quality and Service Standard in Primary Care Unit According to Ministry of Public Health Standard 2014-2016 | en_US |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The quality and primary care standard system (PCS) is consisted of eight main topics with a checklist of 40 items. PCS has been used as guidelines to implement and organize service systems and develop the laboratory work of the primary care units to meet quality and service standards. This study aimed at collecting and analyzing data in order to sort the frequency of unmet quality requirements of 7,452 primary care units (80.89%) assessed by network laboratories in fiscal years 2014 – 2016. The highest nonconforming requirement was Item 3 concerning the unavailability/insufficiency of materials, solutions and instruments at primary care units (such as blood glucose test with glucometer, pregnancy test, urine strip test for glucose and protein and hematocrit). The findings of this study revealed areas for improving quality and primary care standards. In addition, involved agencies should use the data to formulate policies and guidelines for improving quality and service standards focusing on the parts that the primary care units were unable to accomplish in order to improve the quality of the laboratory services at the primary care units. This will result in a decrease of service congestion at major hospitals in addition to promoting efficient treatment, prevention and disease control. | en_US |
dc.subject.keyword | การพัฒนาห้องปฏิบัติการ | th_TH |
dc.subject.keyword | มาตรฐานทางห้องปฏิบัติการ | th_TH |
.custom.citation | เรวดี สิริธัญญานนท์, Raevadee Siritunyanont, วาสิฏฐี แก้วกระจ่าง, Wasittee Kaewkrajang, ปวีณา กมลรักษ์ and Paweena Kamolrak. "การประเมินผลคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการทางห้องปฏิบัติการของหน่วยบริการปฐมภูมิตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2557-2559." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4860">http://hdl.handle.net/11228/4860</a>. | |
.custom.total_download | 3648 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 41 | |
.custom.downloaded_this_year | 616 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 96 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ